ประวัติความเป็นมาของหน่วยวิชาระบบต่อมไร้ท่อและเมแทบอลิซึม

 

เมื่อแรกเริ่มก่อตั้งภาควิชาอายุรศาสตร์ ปี พ.ศ.2504 ยังไม่ได้มีการตั้งหน่วยวิชาระบบต่อมไร้ท่อและเมแทบอลิซึม ต่อมาปี พ.ศ.2508 ได้จัดตั้งหน่วยวิชาระบบต่อมไร้ท่อและเมแทบอลิซึม  และโรคไต  โดยมีรองศาสตราจารย์นายแพทย์มุณี  แก้วปลั่ง  เป็นหัวหน้าหน่วย ต่อมาในปี พ.ศ.2515 แพทย์หญิงนพรัตน์  เปรมัษเฐียร  กลับจากการศึกษาต่างประเทศ  ได้แยกหน่วยไตไปดูแล

ปี พ.ศ.2518 รองศาสตราจารย์นายแพทย์มุณี แก้วปลั่ง  ได้รับแต่งตั้งเป็นหัวหน้าภาควิชาอายุรศาสตร์ ผู้ช่วยศาสตราจารย์นายแพทย์วชิระ โมกมล  ได้รับแต่งตั้งเป็นหัวหน้าหน่วยคนที่ 2 แทน จนเกษียณอายุราชการในปี พ.ศ.2541

ปี พ.ศ.2541  รองศาสตราจารย์แพทย์หญิงอัมพิกา  มังคละพฤกษ์ ได้รับแต่งตั้งเป็นหัวหน้าหน่วยคนที่ 3 ต่อมา รองศาสตราจารย์แพทย์หญิงอัมพิกา  มังคละพฤกษ์ ได้รับแต่งตั้งเป็นรองผู้อำนวยการ สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์สุขภาพ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ อีกตำแหน่งหนึ่ง

ปี พ.ศ.2554   รองศาสตราจารย์นายแพทย์ณัฐพงศ์  โฆษชุณหนันท์ จึงรับช่วงต่อเป็นหัวหน้าหน่วยคนที่ 4 จนถึงปัจจุบัน

จนถึงปี 2561 เนื่องจากได้รับแต่งตั้งเป็นรองคณบดี คณะแพทยศาสตร์

ปี พ.ศ.2562 รองศาสตราจารย์แพทย์หญิงศุภวรรณ  บูรณพิร ได้รับแต่งตั้งเป็นหัวหน้าหน่วยคนที่ 5  จนถึงปัจจุบัน

หน่วยวิชาระบบต่อมไร้ท่อและเมแทบอลิซึม  เป็นหน่วยหนึ่งในภาควิชาอายุรศาสตร์  คณะแพทยศาสตร์  มหาวิทยาลัยเชียงใหม่  ทำหน้าที่รับผิดชอบเกี่ยวกับการเรียนการสอน การวิจัยการบริการ  และการบริการทางวิชาการต่อสังคมในส่วนที่เกี่ยวข้องกับโรคระบบต่อม ไร้ท่อและเมแทบอลิซึม

 

หัวหน้าหน่วย จากอดีตจนถึงปัจจุบัน

1. รองศาสตราจารย์นายแพทย์มุนี แก้วปลั่ง                                           พ.ศ.2508-2518

2. ผู้ช่วยศาสตราจารย์นายแพทย์วชิระ โมกมล                                    พ.ศ.2518-2541

3. รองศาสตราจารย์แพทย์หญิงอัมพิกา มังคละพฤกษ์         พ.ศ.2541-2554

4. รองศาสตราจารย์นายแพทย์ณัฐพงศ์ โฆษชุณหนันท์        พ.ศ.2554-2562

5. รองศาสตราจารย์แพทย์หญิงศุภวรรณ บูรณพิร                    พ.ศ.2562-ปัจจุบัน

 

อาจารย์ในหน่วย จากอดีตจนถึงปัจจุบัน

1. รองศาสตราจารย์นายแพทย์มุนี  แก้วปลั่ง
2. ผู้ช่วยศาสตราจารย์นายแพทย์วชิระ โมกมล
ปัจจุบันเป็นอาจารย์พิเศษ (เกษียณอายุราชการ พ.ศ.2541)
3. ศาสตราจารย์นายแพทย์จิตร  จิรรัตน์สถิต
ปัจจุบันเป็นอาจารย์พิเศษ (เกษียณอายุราชการ พ.ศ.2546)
4. รองศาสตราจารย์แพทย์หญิงอัมพิกา  มังคละพฤกษ์
ปัจจุบันเป็นอาจารย์พิเศษ (เกษียณอายุราชการ พ.ศ.2559)
5. รองศาสตราจารย์นายแพทย์ณัฐพงศ์  โฆษชุณหนันท์
6. รองศาสตราจารย์แพทย์หญิงศุภวรรณ  บูรณพิร
7. นายแพทย์เกษตร  ฉิมพลี
(ย้ายไปรับราชการที่ มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง จังหวัดเชียงราย)
8. รองศาสตราจารย์แพทย์หญิงเมตตาภรณ์  พรพัฒน์กุล
9. ผู้ช่วยศาสตราจารย์แพทย์หญิงนิพาวรรณ  ไวศยะนันท์
10. อาจารย์แพทย์หญิงวรผกา  มโนสร้อย

 

บุคลากรในหน่วยจากอดีตจนถึงปัจจุบัน

1. นางละไม  ชุมศิลป์                                                                พยาบาลประจำหน่วย (เกษียณอายุราชการ พ.ศ.2541)
2. นายสมบัติ  มาตยาบุญ                                                นักเทคนิคการแพทย์ (เกษียณอายุราชการ พ.ศ.2557)
3. นางสาวลัดดาวรรณ  ลิ้มพิจารณ์กิจ        พยาบาลประจำหน่วย
4. นางมลพร  พรอาริยา                                                    ผู้ปฏิบัติงานพยาบาล
5. นางสาวจิตรลดา  เก่งกล้า                                      นักเทคนิคการแพทย์
6. นางสาวรัชนู  อุปพันธ์                                                    เจ้าหน้าที่ธุรการ

ปรัชญา
ต่อมไร้ท่อเชียงใหม่ หัวใจคือวิชาการ พัฒนางานวิจัย ให้บริการมาตรฐานสากล

 

ปณิธาน
หน่วยต่อมไร้ท่อและเมแทบอลิซึม ภาควิชาอายุรศาสตร์ เน้นการฝึกอบรมแพทย์ประจำบ้านและแพทย์ประจำบ้านอนุสาขา ให้มีความรู้ความสามารถในระดับสากล ฝักใฝ่ในการฝึกอบรมตนเองอย่างต่อเนื่อง มีคุณธรรมและจิตสำนึกในการรับใช้สังคม ส่งเสริมงานวิจัยของผู้เข้ารับการฝึกอบรม ให้บริการชุมชนในการดูแลโรคต่อมไร้ท่อที่มีคุณภาพมาตรฐาน เหมาะกับทรัพยากร และดำเนินการพัฒนาระบบประกันคุณภาพให้เข้มแข็ง

 

พันธกิจของการฝึกอบรม/หลักสูตร
หน่วยวิชาต่อมไร้ท่อและเมแทบอลิซึม ภาควิชาอายุรศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ กำหนดพันธกิจด้านการศึกษาของหลักสูตร คือ

“ผลิตอายุรแพทย์โรคต่อมไร้ท่อและเมแทบอลิซึมที่มีความรู้ความสามารถตามมาตรฐานวิชาชีพ
และมีคุณธรรมจริยธรรม เพื่อตอบสนองความต้องการของชาติ”

 

โดยมุ่งหมายให้ผู้รับการฝึกอบรม
1. มีความรู้ความชำนาญด้านโรคต่อมไร้ท่อและเมแทบอลิซึมตามมาตรฐานวิชาชีพสามารถปฏิบัติงานได้ด้วยตนเองโดยไม่ต้องมีการกำกับดูแล
2. มีความสามารถในการเรียนรู้เพื่อพัฒนาวิชาชีพอย่างต่อเนื่อง และสามารถทำงานวิจัยทางการแพทย์ได้อย่างถูกต้องตามหลักวิชาการและหลักจริยธรรมการวิจัยทางการแพทย์
3. มีคุณธรรมจริยธรรม ทัศนคติเจตคติที่ดีและมีพฤติกรรมที่เหมาะสมต่อเพื่อนร่วมงานทั้งในวิชาชีพของตนเองและวิชาชีพอื่นๆ รวมทั้งผู้ป่วยและญาติมีความเอื้ออาทรและใส่ใจในความปลอดภัยโดยยึดถือผู้ป่วยเป็นศูนย์กลางมีจิตสำนึกในการรับใช้สังคม
4. มีความเป็นมืออาชีพในการดูแลผู้ป่วยแบบองค์รวม ตั้งแต่การสร้างเสริมสุขภาพการป้องกันโรค การตรวจวินิจฉัย และการรักษา
5. มีทักษะในการสื่อสารและปฏิสัมพันธ์สามารถทำงานเป็นทีมร่วมกับบุคลากรอื่นรวมทั้งการปฏิบัติงานแบบสหวิชาชีพได้ รวมถึงมีความสามารถในการถ่ายทอดความรู้ให้แก่นักศึกษาแพทย์ ทีมแพทย์ผู้เชี่ยวชาญด้านอื่นหรือผู้ร่วมงาน

มีความรู้ความเข้าใจในระบบสาธารณสุขของประเทศและมีความสามารถเกี่ยวกับการบริหารจัดการ เพื่อที่จะสามารถให้บริการสุขภาพแก่ชุมชนอย่างมีคุณภาพตามมาตรฐาน โดยเฉพาะอย่างยิ่งการดูแลปัญหาที่พบบ่อยของผู้ป่วยทางภาคเหนือของประเทศไทย

 

การให้บริการ
1. แผนกผู้ป่วยนอก
1.1 ทำการตรวจและรักษาผู้ป่วยที่ห้องตรวจเบอร์ 21 สัปดาห์ละ 3 วัน ตั้งแต่เวลา 8.00-12.00 น. ดังนี้
– วันจันทร์คลินิกโรคเบาหวาน
– วันพุธ และวันศุกร์ คลินิกโรคต่อมไทรอยด์ ต่อมหมวกไต, ต่อมใต้สมองฯลฯ รวมทั้งโรคที่เกี่ยวกับเมแทบอลิซึม
1.2 ให้คำแนะนำเกี่ยวกับการปฏิบัติตนในผู้ป่วยเบาหวาน เช่น การควบคุมอาหาร, การออกกำลังกาย, การรับประทานยา, การฉีดยา, การดูแลเท้า, การตรวจน้ำตาลในเลือดปลายนิ้วด้วยตนเอง เป็นต้น
1.3 ตรวจเท้าผู้ป่วยเบาหวาน ให้การดูแลในผู้ป่วยที่มีปัญหาเรื่องเท้าและให้คำแนะนำการดูแลเท้า และการเลือกรองเท้าที่เหมาะ
1.4 นอกจากนี้ยังให้บริการต่อไปนี้
– ตรวจต่อมไทรอยด์ด้วยเครื่องความถี่เสียงสูง (Ultrasonography)
– ทำ Fine needle aspiration ต่อมไทรอยด์เพื่อการวินิจฉัยโรค
– ทำ Percutaneous ethanol injection ในผู้ป่วยที่เป็นถุงน้ำที่ต่อมไทรอยด์
– ให้คำแนะนำเกี่ยวกับขั้นตอนการรักษาและการปฏิบัติตนในผู้ป่วยโรคคอพอกเป็นพิษ, โรคมะเร็งต่อมไทรอยด์, โรค Adrenal insufficiency โรคอ้วนและโรคไขมันในเลือดสูง
2. แผนกผู้ป่วยใน
2.1 รับปรึกษาและดูแลผู้ป่วยในหอผู้ป่วยอายุรกรรมที่มีปัญหาโรคระบบต่อมไร้ท่อและเมแทบอลิซึม
2.2 รับปรึกษาจากต่างแผนกในปัญหาของผู้ป่วยโรคระบบต่อมไร้ท่อและเมแทบอลิซึม
2.3 ให้ความรู้เกี่ยวกับการปฏิบัติตนในโรคเบาหวาน, โรคไขมันในเลือดสูง, โรค Adrenal insufficiency แก่ผู้ป่วยและญาติที่มานอนรับการรักษาในโรงพยาบาลทั้งในแผนกอายุรกรรมและต่างแผนก
3. ทำการทดสอบผู้ป่วยทางห้องปฏิบัติการเพื่อการวินิจฉัยโรค (Dynamic endocrine tests) เช่น
– Oral glucose tolerance test (OGTT)
– Insulin induced hypoglycemia
– Growth hormone suppression test
– Water Deprivation test
– ACTH stimulation test
– Saline loading test
4. บริการตรวจเลือดทางห้องปฏิบัติการดังนี้
– Serum Insulin
– Plasma aldosterone
– Plasma renin activity
– Anti TSHR
– Plasma ACTH
– Urine metanephrine , Nor-metanephrine

 

บริการวิชาการแก่ชุมชน
1. รับเชิญบรรยายให้ความรู้แก่สมาคมและหน่วยงานต่างๆ เกี่ยวกับโรคระบบต่อมไร้ท่อและเมแทบอลิซึม
2. จัดอบรมผู้ป่วยเบาหวานและญาติ ในโครงการ “ค่ายผู้ป่วยเบาหวานสัญจร” ปีละ 1 ครั้ง
3. จัดกิจกรรมในวันเบาหวานโลก ทุกวันที่ 14 พฤศจิกายน ของทุกปี

 

การเรียนการสอน
รับผิดชอบสอนกระบวนวิชา ตามภาระที่ได้รับมอบหมายจากภาควิชาอายุรศาสตร์

 

การวิจัย
ทำงานวิจัยเกี่ยวกับโรคระบบต่อมไร้ท่อ ร่วมกับหน่วยงานและสถาบันอื่นๆ

ผลงานหน่วยวิชาระบบต่อมไร้ท่อ

 

1. ตำรา 

– การป้องกันและรักษาโรคเท้าในผู้ป่วยเบาหวาน (Prevention and Management of the Diabetic Foot. รศ.นพ.ณัฐพงศ์ โฆษชุณหนันท์ บรรณาธิการ  Publication Ltd.; 2012. p 223-38.

 

2. งานวิจัย
ผลงานวิจัย ปี 2009-2019

1. Namwongprom, S., Rojanasthien, S., Wongboontan, C., &Mangklabruks, A. (2019). Contribution of android and gynoid adiposity to bone mineral density in healthy postmenopausal thai women. Journal of Clinical Densitometry, 22(3), 346-350.
2. Arworn, S., Kosachunhanun, N., Sony, K., Inpankaew, N., Sritara, P., Phrommintikul, A., . . .Rerkasem, K. (2017). Underrecognition and undertreatment for peripheral arterial disease in diabetic patients in thailand. Journal of the Medical Association of Thailand, 100(2), 142-148.
3. Chinwong, S., Chinwong, D., &Mangklabruks, A. (2017). Daily consumption of virgin coconut oil increases high-density lipoprotein cholesterol levels in healthy volunteers: A randomized crossover trial. Evidence-Based Complementary and Alternative Medicine, 2017
4. Wanner, C., Inzucchi, S. E., Lachin, J. M., Fitchett, D., Von Eynatten, M., Mattheus, M., . . . EMPA-REG OUTCOME Investigators. (2016). Empagliflozin and progression of kidney disease in type 2 diabetes. New England Journal of Medicine, 375(4), 323-334.
5. Naksen, W., Prapamontol, T., Mangklabruks, A., Chantara, S., Thavornyutikarn, P., Robson, M. G., . . .Panuwet, P. (2016). A single method for detecting 11 organophosphate pesticides in human plasma and breastmilk using GC-FPD. Journal of Chromatography B: Analytical Technologies in the Biomedical and Life Sciences, 1025, 92-104.
6. Somboonporn, C., Mangklabruks, A., Thakkinstian, A., Vatanasapt, P., &Nakaphun, S. (2016). Clinical prognostic score for predicting disease remission with differentiated thyroid cancers. Asian Pacific Journal of Cancer Prevention, 17(6), 2805-2810.
7. Zinman, B., Wanner, C., Lachin, J. M., Fitchett, D., Bluhmki, E., Hantel, S., . . . EMPA-REG OUTCOME Investigators. (2015). Empagliflozin, cardiovascular outcomes, and mortality in type 2 diabetes. New England Journal of Medicine, 373(22), 2117-2128.
8. Naksen, W., Prapamontol, T., Mangklabruks, A., Chantara, S., Thavornyutikarn, P., Srinual, N., . . . Barr, D. B. (2015). Associations of maternal organophosphate pesticide exposure and PON1 activity with birth outcomes in SAWASDEE birth cohort, thailand. Environmental Research, 142, 288-296. doi:10.1016/j.envres.2015.06.035
9. Rerkasem, K., Rattanatanyong, P., Rerkasem, A., Wongthanee, A., Rungruengthanakit, K., Mangklabruks, A., &Mutirangura, A. (2015). Higher alu methylation levels in catch-up growth in twenty-year-old offsprings. PLoS ONE, 10(3) doi:10.1371/journal.pone.0120032
10. Phansawan, B., Prapamontol, T., Thavornyutikarn, P., Chantara, S., Mangklabruks, A., &Santasup, C. (2015). A sensitive method for determination of carbendazim residue in vegetable samples using HPLC-UV and its application in health risk assessment. Chiang Mai Journal of Science, 42(3), 681-690.
11. Pakvilai, N., Prapamontol, T., Thavornyutikarn, P., Mangklabruks, A., Chantara, S., Hongsibsong, S., &Santasup, C. (2015). A simple and sensitive GC-ECD method for detecting synthetic pyrethroid insecticide residues in vegetable and fruit samples. Chiang Mai Journal of Science, 42(1), 197-208.
12. Cressey, R., Kumsaiyai, W., &Mangklabruks, A. (2014). Daily consumption of banana marginally improves blood glucose and lipid profile in hypercholesterolemic subjects and increases serum adiponectin in type 2 diabetic patients. Indian Journal of Experimental Biology, 52(12), 1173-1181.
13. Namwongprom, S., Rerkasem, K., Wongthanee, A., Pruenglampoo, S., &Mangklabruks, A. (2014). Relationship between body composition parameters and metabolic syndrome in young thai adults. JCRPE Journal of Clinical Research in Pediatric Endocrinology, 6(4), 227-232.
14. Phansawan, B., Prapamontol, T., Chantara, S., Mangklabruks, A., Santasup, C., &Thavonyutikarn, P. (2014). Determination of dithiocarbamate fungicide residue in cucumber, ginger, and pepper and health risk assessment. Advances in Environmental Biology, 8(15), 45-50.
15. Namwongprom, S., Rojanasthien, S., Mangklabruks, A., Soontrapa, S., Taya, P., &Ongphiphadhanakul, B. (2014). Erratum to: Discrepancy of left and right hip bone mineral density (BMD) in thai women: Diagnostic agreement and misclassification (annals of nuclear medicine (2012) 26, (787-793) DOI: 10.1007/s12149-012-0642-z). Annals of Nuclear Medicine, 28(3), 294.
16. Thiphom, S., Prapamontol, T., Chantara, S., Mangklabruks, A., Suphavilai, C., Ahn, K. C., . . . Hammock, B. D. (2014). Determination of the pyrethroid insecticide metabolite 3-PBA in plasma and urine samples from farmer and consumer groups in northern thailand. Journal of Environmental Science and Health – Part B Pesticides, Food Contaminants, and Agricultural Wastes, 49(1), 15-22.
17. Namwongprom, S., Rerkasem, K., Wongthanee, A., Pruenglampoo, S., &Mangklabruks, A. (2013). Relationship between total body adiposity assessed by dual-energy X-ray absorptiometry, birth weight and metabolic syndrome in young thai adults. JCRPE Journal of Clinical Research in Pediatric Endocrinology, 5(4), 252-257.
18. Thiphom, S., Prapamontol, T., Chantara, S., Mangklabruks, A., &Suphavilai, C. (2013). A method for measuring cholinesterase activity in human saliva and its application to farmers and consumers. Analytical Methods, 5(18), 4687-4693.
19. Namwongprom, S., Rojanasthien, S., Mangklabruks, A., Soontrapa, S., Wongboontan, C., &Ongphiphadhanakul, B. (2013). Effect of fat mass and lean mass on bone mineral density in postmenopausal and perimenopausalthai women. International Journal of Women’s Health, 5(1), 87-92.
20. Thiphom, S., Prapamontol, T., Chantara, S., Mangklabruks, A., Suphavilai, C., Ahn, K. C., . . . Hammock, B. D. (2012). An enzyme-linked immunosorbent assay for detecting 3-phenoxybenzoic acid in plasma and its application to farmers and consumers. Analytical Methods, 4(11), 3772-3778.
21. Namwongprom, S., Rojnastein, S., Mangklabruks, A., Soontrapa, S., Wongboontan, C., &Ongphiphadhanakul, B. (2012). Importance of ethnic base standard references for the diagnosis of osteoporosis in thai women. Journal of Clinical Densitometry, 15(3), 295-301.
22. Rerkasem, K., Wongthanee, A., Rerkasem, A., Chiowanich, P., Sritara, P., Pruenglampoo, S., &Mangklabruks, A. (2012). Intrauterine nutrition and carotid intimal media thickness in young thai adults. Asia Pacific Journal of Clinical Nutrition, 21(2), 247-252.
23. Chiowanich, P., Mangklabruks, A., Rerkasem, A., Wongthanee, A., Rerkasem, K., Chiowanich, P., . . .Tantiprabha, W. (2012). The risk factors of low birth weight infants in the northern part of thailand. Journal of the Medical Association of Thailand, 95(3), 358-365.
24. Pakvilai, N., Prapamontol, T., Thavornyutikarn, P., Mangklabruks, A., Chantara, S., &Santasup, C. (2012). Residues of synthetic pyrethroid pesticides in vegetables, fruit, sediment and water from an intensive agricultural area (fang district, chiangmai, thailand). WIT Transactions on Ecology and the Environment, 167, 201-210.
25. Namwongprom, S., Rojnastein, S., Mangklabruks, A., Soontrapa, S., Taya, P., &Ongphiphadhanakul, B. (2012). Discrepancy of left and right hip bone mineral density (BMD) in thai women: Diagnostic agreement and misclassification. Annals of Nuclear Medicine, 26(10), 787-793.
26. Lee, B., Aurpibul, L., Sirisanthana, V., Mangklabruks, A., Sirisanthana, T., &Puthanakit, T. (2009). Low prevalence of insulin resistance among HIV-infected children receiving nonnucleoside reverse transcriptase inhibitor-based highly active antiretroviral therapy in thailand. HIV Medicine, 10(2), 72-78.
27. Arworn, S., Kosachunhanun, N., Sony, K., Inpankaew, N., Sritara, P., Phrommintikul, A., . . .Rerkasem, K. (2017). Underrecognition and undertreatment for peripheral arterial disease in diabetic patients in thailand. Journal of the Medical Association of Thailand, 100(2), 142-148.
28. Deerochanawong, C., Kosachunhanun, N., Chotikanokrat, P., &Permsuwan, U. (2018). Biphasic insulin aspart 30 treatment for people with type 2 diabetes: A budget impact analysis based in thailand. Current Medical Research and Opinion, 34(2), 369-375.
29. Deerochanawong, C., Kosachunhanun, N., Gadekar, A. V., Chotikanokrat, P., &Permsuwan, U. (2019). Cost–benefit comparison of liraglutide and sitagliptin in the treatment of type 2 diabetes in thailand. ClinicoEconomics and Outcomes Research, 11, 423-430.
30. Hengjeerajarus, N., Klaisuwan, T., Norasetthada, L., &Kosachunhanun, N. (2015). Mucosa-associated lymphoid tissue lymphoma with large cell transformation on the background of hashimoto’s thyroiditis: A case report and review literature. Journal of the Medical Association of Thailand, 98(5), 514-519.
31. Junrungsee, S., Kosachunhanun, N., Wongthanee, A., &Rerkasem, K. (2011). History of foot ulcers increases mortality among patients with diabetes in northern thailand. Diabetic Medicine, 28(5), 608-611.
32. Kaweewan, R., Orrapin, S., Kosachunhanun, N., Sony, K., Inpankaew, N., &Rerkasem, K. (2018). Chronic leg ulcer is a strong predictor to determine the major cardiovascular events in diabetic patients with peripheral arterial disease in thailand. International Journal of Diabetes in Developing Countries, 38(4), 461-470.
33. Kosachunhanun, N., Tongprasert, S., &Rerkasem, K. (2012). Diabetic foot problems in tertiary care diabetic clinic in thailand. International Journal of Lower Extremity Wounds, 11(2), 124-127.
34. Paengsai, N., Jourdain, G., Chaiwarith, R., Tantraworasin, A., Bowonwatanuwong, C., Bhakeecheep, S., . . .Kosachunhanun, N. (2018). Incidence and clinical outcomes of diabetes mellitus in HIV-infected adults in thailand: A retrospective cohort study. BMC Public Health, 18(1)
35. Pratipanawatr, T., Rawdaree, P., Chetthakul, T., Bunnag, P., Ngarmuko, C., Benjasuratwong, Y., . . .Komoltri, C. (2015). Differences in mortality by education level among patients in diabetic registry for thailand. Southeast Asian Journal of Tropical Medicine and Public Health, 46(1), 125-132.
36. Pratipanawatr, T., Rawdaree, P., Chetthakul, T., Bunnag, P., Ngarmukos, C., Benjasuratwong, Y., . . .Komoltri, C. (2013). Smoking and death in thai diabetic patients: The thailand diabetic registry cohort. Journal of the Medical Association of Thailand, 96(3), 280-287.
37. Pratipanawatr, T., Rawdaree, P., Chetthakul, T., Bunnag, P., Ngarmukos, C., Benjasuratwong, Y., . . .Komoltri, C. (2010). Thailand diabetic registry cohort: Predicting death in thai diabetic patients and causes of death. Journal of the Medical Association of Thailand, 93(SUPPL 3), S12-S20.
38. Pruksakorn, D., Lorsomradee, S., Phanphaisarn, A., Teeyakasem, P., Klangjorhor, J., Chaiyawat, P., . . .Arpornchayanon, O. (2017). Safety and efficacy of intralesional steroid injection for aggressive fibromatosis. World Journal of Surgical Oncology, 15(1)
39. Rawdaree, P., Deerochanawong, C., Peerapatdit, T., Thongtang, N., Suwanwalaikorn, S., Khemkha, A., . . .Kosachunhanun, N. (2010). Efficacy and safety of generic and original pioglitazone in type 2 diabetes mellitus: A multicenter, a double-blinded, randomized-controlled study. Journal of the Medical Association of Thailand, 93(11), 1249-1255.
40. Rerkasem, K., Kosachunhanun, N., Sony, K., Inpankaew, N., & Mani, R. (2015). Underrecognized peripheral arterial disease in patients with diabetes mellitus in thailand: We must consider neuroischemic foot ulcers from this fallout. International Journal of Lower Extremity Wounds, 14(2), 132-135.
41. Rerkasem, K., Kosachunhanun, N., Tongprasert, S., &Guntawongwan, K. (2009). A multidisciplinary diabetic foot protocol at chiangmai university hospital: Cost and quality of life. International Journal of Lower Extremity Wounds, 8(3), 153-156.
42. White, W. B., Cannon, C. P., Heller, S. R., Nissen, S. E., Bergenstal, R. M., Bakris, G. L., . . .Barchha, N. (2013). Alogliptin after acute coronary syndrome in patients with type 2 diabetes. New England Journal of Medicine, 369(14), 1327-1335.
43. White, W. B., Cannon, C. P., Heller, S. R., Nissen, S. E., Bergenstal, R. M., Bakris, G. L., . . . Knapp, B. (2014). Alogliptin after acute coronary syndrome in patients with type 2 diabetes. Austrian Journal of Clinical Endocrinology and Metabolism, 7(2), 77.
44. Auiwattanakul, S., Chittawatanarat, K., Chaiwat, O., Morakul, S., Kongsayreepong, S., Ungpinitpong, W., . . .Buranapin, S. (2018). Characters of nutrition status and energy-delivery patterns of the university-based surgical intensive care units in thailand (multi-center THAI-SICU study). Medical Archives (Sarajevo, Bosnia and Herzegovina), 72(1), 36-40.
45. Auiwattanakul, S., Chittawatanarat, K., Chaiwat, O., Morakul, S., Kongsayreepong, S., Ungpinitpong, W., . . .Buranapin, S. (2019). Effects of nutrition factors on mortality and sepsis occurrence in a multicenter university-based surgical intensive care unit in thailand (THAI-SICU study). Nutrition, 58, 94-99.
46. Boonyavarakul, A., Leelawattana, R., Pongchaiyakul, C., Buranapin, S., Phanachet, P., &Pramyothin, P. (2018). Effects of meal replacement therapy on metabolic outcomes in thai patients with type 2 diabetes: A randomized controlled trial. Nutrition and Health, 24(4), 261-268.
47. Buranapin, S., Siangruangsang, S., Chantapanich, V., &Hengjeerajarus, N. (2014). The comparative study of diabetic specific formula and standard formula on postprandial plasma glucose control in type 2 DM patients. Journal of the Medical Association of Thailand, 97(6), 582-588.
48. Sukaraphat, N., Chewaskulyong, B., &Buranapin, S. (2016). Dietary counseling outcomes in locally advanced unresectable or metastatic cancer patients undergoing chemotherapy. Journal of the Medical Association of Thailand, 99(12), 1283-1290.
49. Kitwitee, P., Limwattananon, S., Limwattananon, C., Waleekachonlert, O., Ratanachotpanich, T., Phimphilai, M., . . .Pongchaiyakul, C. (2015). Metformin for the treatment of gestational diabetes: An updated meta-analysis. Diabetes Research and Clinical Practice, 109(3), 521-532.
50. Manosroi, W., Wannasai, K., &Phimphilai, M. (2015). Pulmonary embolism and subclavian vein thrombosis in a patient with parathyroid carcinoma: Case report and review of literature. Journal of the Medical Association of Thailand, 98(9), 925-933.
51. Phimphilai, M., Pothacharoen, P., Kongtawelert, P., &Chattipakorn, N. (2017). Impaired osteogenic differentiation and enhanced cellular receptor of advanced glycation end products sensitivity in patients with type 2 diabetes. Journal of Bone and Mineral Metabolism, 35(6), 631-641.
52. Pramojanee, S. N., Phimphilai, M., Chattipakorn, N., &Chattipakorn, S. C. (2014). Possible roles of insulin signaling in osteoblasts. Endocrine Research, 39(4), 144-151.
53. Pramojanee, S. N., Phimphilai, M., Kumphune, S., Chattipakorn, N., &Chattipakorn, S. C. (2013). Decreased jaw bone density and osteoblastic insulin signaling in a model of obesity. Journal of Dental Research, 92(6), 560-565.
54. Atthakomol, P., Manosroi, W., Phanphaisarn, A., Phrompaet, S., Iammatavee, S., &Tongprasert, S. (2018). Comparison of single-dose radial extracorporeal shock wave and local corticosteroid injection for treatment of carpal tunnel syndrome including mid-term efficacy: A prospective randomized controlled trial. BMC Musculoskeletal Disorders, 19(1)
55. Gupta, T., Connors, M., Tan, J. W., Manosroi, W., Ahmed, N., Ting, P. Y., . . . Williams, G. H. (2018). Striatin gene polymorphic variants are associated with salt sensitive blood pressure in normotensives and hypertensives. American Journal of Hypertension, 31(1), 124-131.
56. Manosroi, W., Tan, J. W., Rariy, C. M., Sun, B., Goodarzi, M. O., Saxena, A. R., . . . Seely, E. W. (2017). The association of estrogen receptor-β gene variation with salt-sensitive blood pressure. Journal of Clinical Endocrinology and Metabolism, 102(11), 4124-4135.
57. Manosroi, W., & Williams, G. H. (2018). Genetics of human primary hypertension: Focus on hormonal mechanisms. Endocrine Reviews, 40(3), 825-856.
58. Shukri, M. Z., Tan, J. W., Manosroi, W., Pojoga, L. H., Rivera, A., Williams, J. S., . . . Romero, J. R. (2018). Biological sex modulates the adrenal and blood pressure responses to angiotensin II. Hypertension, 71(6), 1083-1090.
59. Thinnukool, O., Khuwuthyakorn, P., Wientong, P., Suksat, B., &Waisayanand, N. (2019). Type 2 diabetes mobile application for supporting for clinical treatment: Case development report. International Journal of Online and Biomedical Engineering, 15(2), 21-38.

 

3. รางวัลที่ได้รับ
– ตำรา การป้องกันและรักษาโรคเท้าในผู้ป่วยเบาหวาน (Prevention and Management of the Diabetic Foot. ได้รับรางวัล TTF AWARD ด้านวิทยาศาสตร์สุขภาพ ประจำปี 2556 จากมูลนิธิโตโยต้าประเทศไทย

 

4. งานบริการวิชาการแก่ชุมชน สังคมและกิจกรรม corporate social responsibility (CSR) อื่น ๆ
– จัดกิจกรรมวันเบาหวานโลก ทุกวันที่ 14 พฤศจิกายน ของปี เพื่อให้ความรู้เรื่องโรคเบาหวานแก่ประชาชน
– จัดค่ายเบาหวานสัญจร เพื่อให้ความรู้เรื่องโรคเบาหวานแก่ผู้ป่วยเบาหวานและญาติ

1. การฝึกอบรมแพทย์ประจำบ้านต่อยอด

1.1. หลักสูตร
ใช้เกณฑ์หลักสูตรการฝึกอบรมแพทย์ประจำบ้านอนุสาขา เพื่อวุฒิบัตรแสดงความรู้ความชำนาญในการประกอบวิชาชีพเวชกรรม อนุสาขาอายุรศาสตร์โรคต่อมไร้ท่อและเมแทบอลิซึม คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ฉบับ พ.ศ. 2562

1.2. คู่มือการฝึกอบรม

1.3. เกณฑ์การคัดเลือกแพทย์ประจำบ้านต่อยอด
ผู้เข้ารับการฝึกอบรมจะต้องเป็นผู้ที่ได้รับใบอนุญาตประกอบวิชาชีพเวชกรรมแล้ว และต้องมีคุณสมบัติอย่างใดอย่างหนึ่งดังต่อไปนี้
1.1 เป็นผู้ได้รับหนังสืออนุมัติหรือวุฒิบัตรฯ สาขาอายุรศาสตร์
1.2 เป็นแพทย์ประจำบ้านปีสุดท้ายในการฝึกอบรมเพื่อวุฒิบัตรฯ สาขาอายุรศาสตร์
1.3 เป็นผู้มีสิทธิสอบเพื่อหนังสืออนุมัติหรือวุฒิบัตรฯ สาขาอายุรศาสตร์ในปีการศึกษานั้น

 

2. รับสมัครแพทย์ประจำบ้านและแพทย์ประจำบ้านต่อยอด

3. ทำเนียบแพทย์ประจำบ้านต่อยอด

4. อาจารย์ที่ปรึกษา

ศุภวรรณ

รศ.พญ.ศุภวรรณ บูรณพิร

Supawan Buranapin, M.D.

หัวหน้าหน่วยวิชาระบบต่อมไร้ท่อและเมตาบอลิสม

รศ.นพ.ณัฐพงศ์ โฆษชุณหนันท์

Natapong Kosachunhanun, M.D.

3.รองศาสตราจารย์ แพทย์หญิงเมตตาภรณ์ พรพัฒน์กุล

รศ.พญ.เมตตาภรณ์ พรพัฒน์กุล

Mattabhorn Phornphutkul, M.D.

Email : mattabhorn.p@cmu.ac.th

mphimphi@hotmail.com

IMG_0230

ผศ.พญ.นิพาวรรณ ไวศยะนันท์

Nipawan Waisayanand, M.D.

5.ผู้ช่วยศาสตราจารย์ แพทย์หญิงวรผกา มโนสร้อย

รศ.พญ.วรผกา มโนสร้อย

Worapaka Manosroi, M.D.

Email : worapaka.m@cmu.ac.th

worapaka.m@gmail.com

ผศ.นพ.วชิระ โมกมล

(อาจารย์พิเศษ)

Wachira Mokmol, M.D.

ศ.นพ.จิตร จิรรัตน์สถิต

(อาจารย์พิเศษ)

Jit Jiraratsatit, M.D.

รศ.พญ.อัมพิกา มังคละพฤกษ์

(อาจารย์พิเศษ)

Ampica Mangklabruks, M.D.

ลัดดาวรรณ ลิ้มพิจารณ์กิจ

พยาบาล

 มลพร พรอาริยา

 ผู้ปฏิบัติงานพยาบาล

จิตรลดา เก่งกล้า

นักเทคนิคการแพทย์

228222

สุทธิรักษ์ บุญศรี

พยาบาล

226980

รัชนู อุปพันธ์

เจ้าหน้าที่ธุรการ