หน่วยวิชามะเร็งวิทยา | Oncology

ประวัติความเป็นมาของหน่วยวิชามะเร็งวิทยา

 

ปีที่ก่อตั้ง พ.ศ.2532
ในระยะแรก งานของหน่วยมะเร็งวิทยาได้รวมอยู่กับหน่วยโลหิตวิทยาโดยมีอาจารย์ แพทย์หญิงสุมิตรา ทองประเสริฐ (ศาสตราจารย์เกียรติคุณ แพทย์หญิงสุมิตรา ทองประเสริฐ ในปัจจุบัน) เป็นอาจารย์ประจำหน่วยตั้งแต่ปีพ.ศ.2522 ต่อมางานเกี่ยวกับการรักษาผู้ป่วยโรคมะเร็งในความรับผิดชอบของงานโรคมะเร็งขยายมากขึ้น และภายหลังจากที่ท่านได้ทุนอานันทมหิดลไปศึกษาต่อที่ MD Anderson สหรัฐอเมริกาเมื่อศึกษาจบกลับมาจึงแยกออกมาตั้งเป็นหน่วยมะเร็งวิทยาอย่างสมบูรณ์เมื่อปี พ.ศ. 2532 โดยมีอาจารย์แพทย์หญิงสุมิตรา ทองประเสริฐ เป็นหัวหน้าหน่วยท่านแรก ต่อมาท่านได้ร่วมจัดตั้งมะเร็งวิทยาสมาคมของประเทศไทยขึ้นใน พ.ศ.2539 และทำให้หน่วยมะเร็งวิทยามีการเปลี่ยนแปลงปรับปรุงมาเป็นลำดับ ทั้งในแง่ชนิดของโรคมะเร็งที่รับผิดชอบดูแล อัตรากำลัง งานวิจัย และอื่นๆ สำหรับภาระงานที่มีมากขึ้น ศาสตราจารย์แพทย์หญิงสุมิตรา จึงได้ทาบทามอาจารย์ แพทย์หญิงบุษยามาส ชีวสกุลยง ให้มาเป็นอาจารย์ที่ภาควิชาอายุรศาสตร์ในปี พ.ศ. 2548 ด้านการฝึกอบรมนั้น ปี พ.ศ.2543 หน่วยวิชาได้เปิดหลักสูตรฝึกอบรมแพทย์ประจำบ้าน และแพทย์ใช้ทุน สาขาอายุรศาสตร์มะเร็งวิทยา ซึ่งปัจจุบันมีแพทย์ผ่านการอบรมไปแล้ว 13 รุ่น รวมเป็น 18 คน นอกจากนี้ หน่วยวิชามีการพัฒนาบริการวิชาการ สู่สังคม และบุลาการทางการแพทย์ โดยจัดประชุมวิชาการเป็นประจำทุกปี เริ่มตั้งแต่ปีพ.ศ. 2555 เป็นต้นมา

 

หน่วยวิชาได้มีการพัฒนาทุกด้านอย่างต่อเนื่องทั้งด้านการเรียนการสอน การบริการตรวจผู้ป่วยนอกการบริการวิขาการ และงานวิจัย โดยได้มีการริเริ่มจัดตั้งทีมสหสาขาร่วมกับอาจารย์ในหน่วยวิชาโรคระบบการหายใจ เวชบำบัดวิกฤตและภูมิแพ้ ภาควิชาอายุรศาสตร์ หน่วยศัลยศาสตร์ทรวงอก ภาควิชาศัลยศาสตร์หน่วยรังสีวินิจฉัย และรังสีรักษา ภาควิชารังสีวิทยาและภาควิชาพยาธิวิทยา เพื่อสร้างงานวิจัยชื่อ กลุ่มมะเร็งทรวงอกภาคเหนือของประเทศไทย (Northern Thailand Thoracic Oncology Group) ซึ่งทำหน้าที่ร่วมกันทั้งด้านบริการวิชาการโดยจัดประชุมทุกวันอังคาร และร่วมมือกันในด้านการวิจัย

 

รายนามหัวหน้าหน่วยวิชา และปีที่ดำรงตำแหน่งจากอดีตถึงปัจจุบัน
1. ศาสตราจารย์ แพทย์หญิงสุมิตรา ทองประเสริฐ พ.ศ. 2532-2555
2. รองศาสตราจารย์ แพทย์หญิงบุษยามาส ชีวสกุลยง พ.ศ. 2555-ปัจจุบัน

รายนามอาจารย์ตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน

1. ศาสตราจารย์เกียรติคุณ แพทย์หญิงสุมิตรา ทองประเสริฐ
2. รองศาสตราจารย์ แพทย์หญิงบุษยามาส ชีวสกุลยง

3. รองศาสตราจารย์ นายแพทย์ชัยยุทธ เจริญธรรม
4. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ นายแพทย์ธัชธรรม์ สุขสมบูรณ์เจริญ
5. อาจารย์ แพทย์หญิงธนิกา เกตุเผือก

 

อาจารย์พิเศษ
1. ศาสตราจารย์เกียรติคุณ แพทย์หญิงสุมิตรา ทองประเสริฐ

 

บุคลากรสนับสนุนของหน่วยฯ ในปัจจุบัน
1. นางสาวจิรัฐิติกาล  สักออน
2. นางสาวเกตุกนก  แก้วจริง
3. นางสาวสุชาภัสร์  แสนอิน
4. นางสาวนิตยา  วงศ์วีระพันธุ์

วิสัยทัศน์
หน่วยมะเร็งวิทยาเป็นกำลังสำคัญของภาควิชาอายุรศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ในการพัฒนาการเรียน การสอน การวิจัย สาขาอายุรศาสตร์มะเร็งวิทยา บัณฑิตที่ได้รับการฝึกอบรมจากหน่วยมะเร็งวิทยา สามารถครองตน ครองคน ครองงาน ด้วยมโนธรรมและจิตสำนึกต่อสังคมดังปณิธานของคณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

 

พันธกิจ
1. ผลิตอายุรแพทย์มะเร็งวิทยาให้มีความรู้ ทักษะ ด้านอายุรแพทย์มะเร็งวิทยา มีความเป็นมืออาชีพ สามารถปฏิบัติงานเป็นทีม ร่วมกับสหสาขาวิชาชีพ มีคุณธรรม จริยธรรม ทัศนคติ และเจตคติที่ดีต่อผู้ป่วย ผู้ร่วมงานและองค์กร
2. ผลิตอายุรแพทย์มะเร็งวิทยาที่มีความสามารถในการเรียนรู้ได้เองเพื่อให้มีการพัฒนาวิชาชีพอย่างต่อเนื่อง
3. ผลิตอายุรแพทย์มะเร็งวิทยาที่มีความสามารถในการวิจัยเพื่อสร้างความรู้ใหม่
4. จัดการฝึกอบรมแพทย์ประจำบ้าน/ แพทย์ประจำบ้านต่อยอดโดยยึดผู้เข้าฝึกอบรม (learner-centered) และการเรียนรู้เป็นศูนย์กลาง (learning-centered) ใส่ใจความปลอดภัย ดูแลผู้ป่วยและครอบครัวแบบองค์รวม

ค่านิยม
หน่วยมะเร็งวิทยา ภาควิชาอายุรศาสตร์ มีแนวปฏิบัติตามค่านิยมดังนี้
RUK
R : Responsibilityมีความรับผิดชอบ
U: Unity มีความเป็นหนึ่งเดียวกัน มีความสามัคคี เป็นเอกภาพ
K: Kindness มีความเมตตา กรุณา

 

การให้บริการ
หน่วยมะเร็งวิทยา มีภาระงานบริการผู้ป่วยมะเร็ง โดยมีผู้ป่วยนอกตรวจที่ห้องตรวจผู้ป่วยนอกเบอร์ 21 ประมาณ 120 – 200 คนต่อวันและตรวจที่ห้องตรวจผู้ป่วยนอกเบอร์ 26 ประมาณ 60 – 90 คนต่อวัน รับผิดชอบหอผู้ป่วยเคมีบำบัดจำนวน 18 เตียง รับผิดชอบผู้ป่วยในอายุรศาสตร์ (รับปรึกษาผู้ป่วยใหม่ 10 – 15 คนต่อสัปดาห์) มีการฝึกอบรมแพทย์ประจำบ้านอายุรศาสตร์มะเร็งวิทยา จำนวน 1-2 คนต่อปี โดยมีผู้จบการฝึกอบรมไปแล้ว มีรายละเอียดดังตารางแนบ

 

การเรียนการสอน
เป็นหน่วยฝึกอบรมแพทย์ประจำบ้าน แพทย์ใช้ทุน ร่วมกับภาควิชาอายุรศาสตร์

 

การวิจัย
มีผลงานวิจัยตีพิมพ์ในระดับชาติและนานาชาติ

ผลงานหน่วยวิชามะเร็งวิทยา

 

1. ตำรา และผลงานวิชาการตีพิมพ์ในวารสารทั้งในประเทศและต่างประเทศ
1. Chewaskulyong B, Thongprasert S. “Preliminary study of efficacy of intravenous cisplatin plus oral etoposide in small cell lung cancer”. J Med Asso Thai, Jan 1988, 81 (1): 37-41.
2. Thongprasert S,Jiemsripong K, Phothirat C. andAtikachai B. “Treatment of small cell lung cancer: Experience at MaharajNakorn Chiang Mai Hospital”. J Med Assoc Thai 1991, 74:253-256.
3. Thongprasert S,Waisayanand C, Jiemsripong K. “Superior vena caval syndrome: retrospective analysis of 84 patients”. Intern Med 1992, 8:67-8.
4. Thongprasert S.“Analysis of the four combination chemotherapies in Non-small cell lung cancer treated at MaharajNakorn Chiang Mai Hospital. Gan to kagakuRyoho 1992,19:1197-1201.
5.Thongprasert S, Jiemsripong K, Phothiratana C and Atikachai B. “Ifosfamide, epirubicin and cisplatin (IEP) in advanced non-small cell lung carcinoma”. Intern Med 1992, 8:17-9.
6. Thitiarchakul S, SiriaungkulS, ThongprasertS.and MalignantS. “Thoracopulmonary small cell tumor (Askin tumor). Intern Med 1992, 8:109-112.
7. Thongprasert S,and Jiemsripong K. “Ifosfamide, epirubicin and cisplatin (IEP)-another active combination for small cell lung cancer”. Lung Cancer 1993, 10:91-4.
8. Khumnil K, Chewaskulyong B, Thongprasert S. “Change in platelet counts in lung cancer patients after treatment”. Chiang Mai Med Bull 1993, 32(2): 67-70.

9. Chewaskulyong B , Chantachai U, Khumnil K and Thongprasert S.“Magnesium Supplementationin cancer patients receiving cisplatin. Internal medicine 1995, 11 (4): 125-131.
10. Chewaskuyong B, Siangprorh O, Charernsupapong K and Lirapatanakul A. “Effect of exercise on serum potassium, magnesium and calcium in Thai people.ChiangMai Med Bull 1995, 34(3) supply: 33.
11. Thongprasert S,Chiersilpa A, Jaisathaporn K, Sailamai P. Comparison of the anti-emetic efficacy of granisetron vs granisetron plus dexamethasone in the treatment of cytostatic-induced emesis. Brit J of Clin Res 1997, 8:57-65.
12. Chewaskulyong B andThongprasert S. “Preliminary study of efficacy of intravenous cisplatin plus oral etoposide in small cell lung cancer J Med Assoc Thai1998, 81:37-41.
13.Thongprasert S. “Phase II study of paclitaxel (Taxol®) and ifosfamide(Holoxan®) in inoperable non-small cell lung cancer”. Lung Cancer 1998, 19:185-9.
14. Thongprasert S, Sanguanmitra P, Juthapan W, Clinch J. “Relationship between quality of life and clinical outcomes in advanced non-small cell lung cancer: best supportive care (BSC) versus BSC plus chemotherapy”. Lung Cancer 1999, 24:17-24.
15. Thongprasert S, Maoleekoonpairoj S, Laohavinij S andThavichaigarn P. “Efficacy of UFT Plus Oral Leucovorin in Advanced Colorectal Cancer: A Multicenter Study”. J Med AssocThai 2000, 83(6):676-680.
16.Thongprasert S. “Efficacy and Tolerability of Tropisetron in the Prevention of Cisplatin- induce Nausea and Vomiting in Advanced Non-small Cell Lung Cancer”.ActaOncologica 2000,39(2):221-224.
17. Thongprasert S, Chewaskulyong B, and Pothirat C. “Combination of Gemcitabine and Cisplatin in advanced non-small lung cancer”. J Med Assoc Thai, 2001, 84(3): 397-401.
18. Rojanasthien, N., Kumsorn, B., Atikachai, B., Leotrakul, S., and Thongprasert, S.“Protective effects of fosfomycin on cisplatin-induced nephrotoxicity in patients with lung cancer International”.Journal of Clinical Pharmacology and Therapeutics 2001, 39 (3): 121-125.
19.Charoentum C.“Adjuvant therapy after resection of colorectal cancer metastases limited to the liver”. The Fellow Reporter 2001, 6: 11-14.
20. Charoentum C and Fleming G. “Advanced in Ovarian Cancer”. Physicians’ Education Resource 2002, 1: 1-8.  21.Thongprasert S andCheewakriangkrai R. “Decetaxel as second-line Chemotherapy for advanced non-small cell cancer (NSCLC)” . J Med Assoc Thai 2002, 85:1296-1300.
22. Thongprasert S, Cheewakriangkrai R and Euathrongchit J. “Paclitaxel and Carboplatin PlusMegestrol acetate in advanced non-small cell lung cancer”. J Med AssocThai: 2002, 85(4):424-432.
23. Vokes E, Charoentum C, Gordon S, et al. “Phase I study of “alternating doublets” in advanced non-small cell lung cancer”. Clinical Lung Cancer 2002, 4: 265-270.
24.Charoentum C, Thongprasert S, Chewaskulyong B,Euathrongchit J, Napapan S and Moonprakan S. “Phase II study of Cisplatin and Irinotecan alternating with Docetaxel for advanced non-small cell lung cancer”. Lung Cancer 2003, 41 (supplement 2): s 102.
25.Louthrenoo W, Kasitanon N, Mahanuphab P, Lertlakana B, and Thongprasert S. “Kaposi’s Sarcoma in Rheumatic Diseases”. Seminars in Arthritis and Rheumatism 2003, 32(5): 326-333.
26. Thongprasert S. and Chewaskulyong B. “Study of Cisplatin-Vinblastine plus amifostine in patients with locally advanced or metastatic non-small cell lung cancer”. J Med Assoc Thai 2004, 87(10): 1162-1167.
27. Sorraritchingchai S, Thongprasert S, Charoentum C, Chewaskulyong B and et al. “Treatment of advanced non-small cell lung cancer with vinorelbine in elderly Thai patients”. J Med Assoc Thai2004, 87(4): 367-371.
28.Chewaskulyong B, and Thongprasert S. “Phase II Study of Cisplatin-Vinblastine Plus Amifostine in Patients with Locally Advanced or Metastaic Non-Small Cell Lung Cancer”. JMed Assoc Thai 2004, 87(10): 1162-1167.
29. Deesomchok A, Dechyonbancha N andThongprasert S.“Lung cancer in MaharajNakorn Chiang Mai Hospital: Comparison of the clinical manifestations between the young and old age groups”.Journal of the Medical Association of Thailand 2005, 88 (9): 1236-1241.
30. Shepherd FA, Rodrigues Pereira J, Ciuleanu T, Tan EH, Hirsh V, Thongprasert S, et al. “Erlotinib in previously treated non-small-cell lung cancer”. N Engl J Med. 2005, Jul 14 353(2):123-32.
31.Thongprasert S, Napapan S, Charoentum C, Moonprakan S. “Phase II study of gemcitabine and cisplatin as first-line chemotherapy in inoperable biliary tract carcinoma”. Ann Oncol 2005, 16(2):279-281.

32.Thongprasert S,IntarpakS,Saengsawang P, Thaikla K. “Reliability of the Thai-Modified Function Living Index Cancer questionnaire version 2 (T-FLIC 2) for the evaluation of quality of life in non-small cell lung cancer patients”.Journal of the Medical Association of Thailand 2005, 88 (12):1809-1815.
33. Thatcher N, Chang A, Parikh P, Pereira JR, Ciuleanu T, von Pawel J, Thongprasert S, et al. “Gefitinib plus best supportive care in previously treated patients with refractory advancednon-small-cell lung cancer: results from a randomised, placebo-controlled, multicentre study(Iressa Survival Evaluation in Lung Cancer)”. Lancet. 2005, 4:366(9496): 1527-1537.
34. Thongprasert S.“The role of chemotherapy in Cholangiocarcinoma”. Ann Oncol. 2005, 16 Suppl2:ii93-ii96.
35. Charoentum, C.“Thai female non-smoker with recurrent lung adenocarcinoma who has dramatic and prolonged response to gefitinib for over one year”. Journal of the Medical Association of Thailand 2006, 89 (6): 882-886.
36. Chang, A, Parikh, P, Thongprasert S, Tan, E.H, Perng R.-P, Ganzon, D, Yang, C.-H, et al. Thatcher N.Gefitinib(IRESSA) in patients of Asian origin with refractory advanced non-small cell lung cancer: Subset analysis from the ISEL study.Journal of Thoracic Oncology 2006, 1 (8):847-855.
37. Thongprasert S, Soorraritchingchai S,Chewaskulyoung B, Charoentum C and MunprakanS. “A Phase II Study of Docetaxel and Carboplatin in Thai Patients with Advanced Non-Small-Cell Lung Cancer”. J Med Assoc Thai 2006, 89(2) 152-159.
38. Charoentum C, Thongprasert S, Chewasakulyong B and Munprakan S. “Experience with gemcitabine and cisplatin in the therapy of inoperable and metastatic cholangiocarcinoma”. World Journal of Gastroenterology 2007,13 (20):2852-2854.
39. Charoentum C, Thongprasert S and Chewasakulyong B“Phase II study of 24-hour infusion of paclitaxel (Intaxel) with carboplatin in advanced non-small cell lung cancer”. Gan to kagakuryoho. Cancer & chemotherapy 2007, 34 (10):1603-1607.
40. Charoentum C, Thongprasert S, Chewasakulyong B, Euathrongchit J, Sorraritchingchai S, andMunprakan S. “Phase II study of cisplatin combined to irinotecan administered alternatinglywith docetaxel in advanced non-small cell lung cancer”. Journal of the Medical Association of Thailand 2007, 90 (11): 2506-2512.

41. Chua D, Fasching P, Ma B, ThongprasertS, Wirth L. “Update on Anti-EGFR Therapy”.  Journal of Oncology 2009: 1-2.
42. Mok T.S, Wu Y,-L, Thongprasert S, Yang C.-H, Chu D.-T, Saijo N, Sunpaweravong P, Fukuoka M. et al. “Gefitinib or carboplatin-paclitaxel in pulmonary adenocarcinoma”.  New England Journal of Medicine 2009, 361 (10):947-957.
43. Qin S., Bai Y., Ye S., Fan J., Lim H., Cho Y J., Thongprasert S, Cho Y, et al. “Phase III study of oxaliplatin plus 5-fluorouracil/leucovorin(FOLFOX4) versus doxorubicin as palliative systemic chemotherapy in advanced HCC in Asian patients”. Journal of Clinical Oncology 28:15s, 2010 (suppl; abstr 4008).
44. Mok T.S, Te-Chun Hsia, Chun-Ming, Tsai,TsangK,Gee-Chen Chang,Wen-Cheng Chang J, Thitiya S, Sriuranpong V, Thongprasert S, et al. “Efficacy of bevacizumab with cisplatin and gemcitabine in Asian patients with advanced or recurrent non-squamous non-small cell lung cancer who have not received prior chemotherapy: A substudy of the Avastin in Lung trial”. Asia Pacific Journal of Clinical Oncology 2011, 7(Suppl. 2): 4–12.
45. Wen-Cheng Chang J, Thongprasert S, Wright E,TsangK,Tae Kim H, Myung-Ju AHN, Joo-Hang KIM, JinHyoung KANG, Sang-We KIM and Stefan WALZER. “An indirect comparison of bevacizumab pluscisplatin-gemcitabine and cisplatin plus pemetrexedreatment for patients with advanced first-line non-squamous non-small cell lung cancer in East Asia”.ajc Asia Pacific Journal of Clinical Oncology 2011, 7(Suppl. 2): 13–21.
46.Thongprasert S, Qin S,Lim H, BhudhisawasdiV,YinX,GangW,KimB,JianZ,YangT,Rau K; Efficacy of oxaliplatin plus 5-fluorouracil/leucovorin(FOLFOX4) versus doxorubicin in advanced HCC: Updates on the EACH study. Journal of Clinical Oncology 2011, 29 (suppl 4; abstr 160).
47. Ronald B. Natale,Thongprasert S, F. Anthony Greco, Michael Thomas, Chun-Ming Tsai, atrapimSunpaweravong, David Ferry, Clive Mulatero, Robert Whorf, Joyce Thompson, Fabrice Barlesi, Peter Langmuir, Sven Gogov, Jacqui A. Rowbottom and Glenwood D. “Goss Phase III Trial of Vandetanib Compared With Erlotinib in Patients With Previously Treated Advanced Non–Small-Cell Lung Cancer”.Journal of Clinical Oncology 2011, (29):1059-
1066.
48. Wu YL,, NagahiroSaijo b,Thongprasert S, Yang LCH, Han B, Margonof B, Chewaskulyong B,SunpaweravongP,OheY,Ichinosei U, Yang JJ, Mok T, Young H, Haddad V, Rukazenkov Y, Fukuoka M. Lung. “Efficacy according to blind independent central review: Post-hocanalyses from the phase III, randomized, multicenter, IPASS study offirst- line gefitinib versus carboplatin/paclitaxel in Asian patients with EGFR mutation-positive advanced NSCLC”.Cancer, 2017, 104: 119-125.
49. BusyamasChewaskulyong, PunlertTanyakul and ApichatTantraworasin. “Serum CYFRA 21-1 and CEA Level as a Predicting Marker for Advanced Non-Small Cell Lung Cancer”. Journal of Thoracic Oncology. 12 (15), January 2017: 5834-5835.
50. J. -C. Soria, Y. Ohe, J. Vansteenkiste, T. Reungwetwattana, B. Chewasskulyong, K.H. Lee, A. Dechaphunkul, F. Imamura, N. Nogami, T. Kurata, I. Okamoto, C. Zhou, B. C. Cho, Y. Cheng, E. K. Cho, P. J. Voon, D. Planchard, W. –C. Su, J. E. Gray, S.-M. Lee, R. Hodge, M. Marotti, Y. Rukazenkov, and S. S. Ramalingam. “Osimertinib in Untreated EGFR-Mutated Advanced Non-Small-Cell Lung Cancer”. The New England Journal of Medicine. 378(2)
January11, 2018: 113-125.
51. ApichatTantraworasin, SophonSiwachat, NarumonTanatip, NirushLertprasertsuke, Sarawut Kongkarnka, JuntimaEuathrongchit, YutthaphanWannasopha, Thatthan Suksombooncharoen,BusayamasChewaskulyong, EmanuelaTaioli, Somcharoen Saeteng. “Outcomes of Pulmonary Resection in Elderly Non-Small Cell Lung Cancer Patient”. Journal of Thoracic Oncology 13(10): S651. October 2018.
52.ApichatTantraworasin, SophonSiwachat, EmanuelaTaioli, SomcharoenSaeteng, Nirush Lertprasertsuke, JuntimaEuathrongchit, BusayamasChewaskulyong, SarawutKongkarnka, YutthaphanWannasopha, ThatthanSuksombooncharoen. “Effect of Insurance Types on Tumor Recurrence and Overall Survival in Resectable Non-Small Lung Cancer Patients in Northern Thailand. Journal of Thoracic Oncology 13(10): S828. October 2018.
53. ByoungChul Cho, MD, PhD, BusayamasChewaskulyoung, MD, Ki Hyeong Lee, MD, PhD, AruneeDechaphunkul, MD, ViroteSriuranpong, MD, PhD, Fumio Imamura, MD, PhD, NaoyukiNogami, MD, PhD, Isamu Okamoto, MD, PhD, Caicun Zhou, MD, PhD, Ying Cheng, MD, Eun Kyung Cho, MD, PhD, Pei JyeVoon, MD, Jong-Seok Lee, MD, Helen Mann, Msc, MaltildeSaggese, MD, ThayananReungwetwattana, MD, Suresh S. Ramalingam, M.B.B.S.,MD, PhD. “Osimertinib versus Standard of Care EGFR TKI as First-Line Treatment in Patients with EGFRm Advanced NSCLC: FLAURA Asian Subset”. Journal of Thoracic Oncology. 14 (1), January 2019: 99-106.

 

2. การประชุมวิชาการ 

 

3. งานวิจัย

โครงการวิจัยของ รองศาสตราจารย์แพทย์หญิงบุษยามาส ชีวสกุลยง

1. Title: Effect of exercise and vitamin E supplement on antioxidant capacity and lipid profile in Thai elderly men.
Grant: Faculty of Medicine Endowment Fund for Medical Research Chiang Mai University ,ChiangMai , Thailand
2. Title: Effect of total suspended particles on pulmonary function and their toxicity to DNA of inhabitants from heavy traffic area in ChiangMai. Grant: Faculty of Medicine Endowment Fund for Medical Research Chiang Mai University ,ChiangMai , Thailand
3. Title: A Phase III, Randomised, Double-blind, Placebo-controlled, Multi-centre, International Study of MEDI4736 as Sequential Therapy in Patients with Locally Advanced, Unresectable Non-Small Cell Lung Cancer (Stage III) Who Have Not Progressed Following Definitive, Platinum-based, Concurrent Chemoradiation Therapy (PACIFIC)
Grant: Faculty of Medicine Endowment Fund for Medical Research Chiang Mai University ,ChiangMai , Thailand
4. Title: A Phase III, Double-Blind, Randomized Study to Assess the Efficacy and Safety of AZD9291 versus a Standard of Care Epidermal Growth Factor Receptor Tyrosine Kinase Inhibitor as First-Line Treatment in Patients with Epidermal Growth Factor Receptor Mutation Positive, Locally Advanced or Metastatic Non-Small Cell Lung Cancer Grant: Faculty of Medicine Endowment Fund for Medical Research Chiang Mai University ,ChiangMai , Thailand
5. Title: A Phase III Randomized, Open-Label, Multi-Center, Global Study of MEDI4736 in Combination with Tremelimumab Therapy or MEDI4736 Monotherapy Versus Standard of Care Platinum-Based Chemotherapy in First Line Treatment of Patients with Locally Advanced or Metastatic Non Small-Cell Lung Cancer (NSCLC) (MYSTIC) Grant: Faculty of Medicine Endowment Fund for Medical Research Chiang Mai University ,ChiangMai , Thailand
6. Title: A multicenter, randomized, double blind Phase III trial to evaluate efficacy and safety of BI 695502 plus chemotherapy versus Avastin®; plus chemotherapy in patients with advanced nonsquamous Non Small Cell Lung Cancer Grant: Faculty of Medicine Endowment Fund for Medical Research Chiang Mai University ,ChiangMai , Thailand
7. Title: A Phase II, Non-comparative, Open label, Multi-centre, International Study of MEDI4736, in Patients with Locally Advanced or Metastatic Non-Small Cell Lung Cancer (Stage IIIB-IV) who have received at least Two Prior Systemic Treatment Regimens Including One Platinum-based Chemotherapy Regimen Grant: Faculty of Medicine Endowment Fund for Medical Research Chiang Mai University ,ChiangMai , Thailand
8. Title: A Phase III, Open-label, Randomised, Multi-centre, International Study of MEDI4736, Given as Monotherapy or in Combination with Tremelimumab, Determined by PD-L1 Expression, Versus Standard of Care in Patients with Locally Advanced or Metastatic Non-Small Cell Lung Cancer (Stage IIIB-IV) who Have Received at Least Two Prior Systemic Treatment Regimens Including One Platinum-based Chemotherapy Regimen and Do Not Have Known EGFR TK Activating Mutations or ALK Rearrangements (ARCTIC)”, Protocol number: D4191C00004
Grant: Faculty of Medicine Endowment Fund for Medical Research Chiang Mai University ,ChiangMai , Thailand
9. Title: A Randomized Open-Label Phase III Study of Single Agent Pembrolizumab versus Single Agent Chemotherapy per Physician’s Choice for Metastatic Triple Negative Breast Cancer (mTNBC) – (KEYNOTE-119)
Grant: Faculty of Medicine Endowment Fund for Medical Research Chiang Mai University ,ChiangMai , Thailand
10. Title: A Phase III, Double-blind, Randomized, Placebo-Controlled Multi-centre, study to assess the efficacy and safety of AZD9291 versus Placebo, in Patients with Epidermal Growth Factor Receptor Mutation Positive Stage IB-IIIA Non-small Cell Lung Carcinoma, following Complete Tumour Resection With or Without Adjuvant Chemotherapy (ADAURA) Grant: Faculty of Medicine Endowment Fund for Medical Research Chiang Mai University ,ChiangMai , Thailand
11. Title: A Phase III, opened-label, multicenter trial of avelumab(MSB0010718C) versus platinum-based doublet as a first-line treatment of recurrent or Stage IV PD-L1+ non-small-cell lung cancer) Grant: Faculty of Medicine Endowment Fund for Medical Research Chiang Mai University ,ChiangMai , Thailand
12. Title: A Phase III, open-label, multicenter, randomized study to investigate the efficacy and safetyof MPDL3280A (Anti-PD-L1 Antibody) compared with docetaxel in patients with non-small cell lung cancer after failure with platinum-containing chemotherapy Grant: Faculty of Medicine Endowment Fund for Medical Research Chiang Mai University ,ChiangMai , Thailand
13. Title: A Phase III, opened-label, multicenter trial of avelumab(MSB0010718C) versus platinum-based doublet as a first-line treatment of recurrent or Stage IV PD-L1+ non-small-cell lung cancer) Grant: Faculty of Medicine Endowment Fund for Medical Research Chiang Mai University ,ChiangMai , Thailand
14. Title: A Phase III, Randomized, Double Blind, Dummy-Controlled Study of ThermoDox® (Lyso-Thermosensitive Liposomal Doxorubicin-LTLD) in Hepatocellular Carcinoma (HCC) using standardized Radiofrequency Ablation (RFA) treatment time ≥ 45 minutes for solitary lesions ≥ 3 cm to ≤ 7 cm Grant: Faculty of Medicine Endowment Fund for Medical Research Chiang Mai University ,ChiangMai , Thailand
15. Title: A Phase III, Randomised, Double-blind, Multicentre Study to Compare the Efficacy, Safety, Pharmacokinetics and Immunogenicity between SB8 (proposed bevacizumab biosimilar) and Avastin® in Subjects with Metastatic or Recurrent Non-squamous Non-small Cell Lung Cancer Grant: Faculty of Medicine Endowment Fund for Medical Research Chiang Mai University ,ChiangMai , Thailand
16. Title: An Open-label, Randomized Phase 3 Efficacy Study of ASP8273 vs Erlotinib or Gefitinib in First-line Treatment of Patients with Stage IIIB/IV Non-small Cell Lung Cancer Tumors with EGFR Activating Mutations, Protocol No. 8273-CL-0302 Grant: Faculty of Medicine Endowment Fund for Medical Research Chiang Mai University ,ChiangMai , Thailand
17. Title: A Phase 2 Study of MM-121 in Combination with Docetaxel or Pemetrexed versus Docetaxel or Pemetrexed Alone in Patients with Heregulin Positive, Locally Advanced or Metastatic Non-Small Cell Lung Cancer
Grant: Faculty of Medicine Endowment Fund for Medical Research Chiang Mai University ,ChiangMai , Thailand
18. Title: A Phase III Study of Pembrolizumab(MK-3475) vs. Best Supportive Case as Second-Line Therapy in Subjects with Previously Systemically Treated Advanced Hepatocellular Carcinoma (KEYNOTE-240)
Grant: Faculty of Medicine Endowment Fund for Medical Research Chiang Mai University ,ChiangMai , Thailand
19. Title:REFINE: Regorafenib observation study in hepatocellular carcinoma(Research ID: MED -2561-06002)
Grant:Bayer Thai Co., Ltd.
20. ชื่อโครงการวิจัย: ผลลัพธ์ทางคลินิคของยาพาลโบซิคลิบร่วมกับยาเลทโทรโซลเปรียบเทียบกับยาเลทโทรโซลเพียงอย่างเดียวในการรักษามะเร็งเต้านมระยะลุกลามในผู้ป่วยไทย(Research ID: MED -2561-05905)
Title:Clinical outcomes of palbociclib plus letrozole compared to letrozole alone in Thai hormonal receptor positive advanced breast cancer Grant:มะเร็งวิทยาสมาคมแห่งประเทศไทย (Thai Society of Clinical Oncology)

 

โครงการวิจัยของ รองศาสตราจารย์นายแพทย์ชัยยุทธ เจริญธรรม

1. การศึกษาวิจัยระยะที่ 1 ซึ่งดำเนินการในคนเป็นครั้งแรก แบบเปิดเผยข้อมูลการรักษา โดยมีการเพิ่มขนาดยาทีละขั้นของยา เอ็มจีดี013 ซึ่งเป็นโปรตีน (ดาร์ท®) 2 ชนิดที่จำเพาะเจาะจง ที่จับตัวกับ พีดี-1 และ แอลเอจี-3 ในผู้ป่วยที่มีเนื้องอกชนิดที่ไม่สามารถผ่าออกได้หรือเนื้องอกในระยะแพร่กระจาย (MED-2561-05852)
2. การศึกษาในระยะที่ 1บี/2 แบบเปิดเผยการรักษา ดำเนินการในหลายศูนย์วิจัย เพื่อประเมินประสิทธิภาพและความปลอดภัยของการใช้ยาเดอร์วาลูแม็บร่วมกับยารักษามะเร็งแบบใหม่ โดยมีหรือไม่มียาเคมีบำบัดร่วมด้วย ในการรักษาเป็นลำดับแรกสำหรับผู้ป่วยโรคมะเร็งปอดชนิดเซลล์ไม่เล็กในระยะที่สี่ (การศึกษาแมคเจลแลน) (MED-2561-05834)
3. การศึกษาในระยะที่ 3 โดยวิธีสุ่ม แบบเปิดเผยการรักษา และมีกลุ่มควบคุม ดำเนินการในหลายสถาบันทั่วโลก เพื่อศึกษาการใช้ยาเดอร์วาลูแม็บร่วมกับยาเคมีบำบัดที่เป็นการรักษามาตรฐาน หรือ ยาเดอร์วาลูแม็บและยาทรีมีลิมูแม็บร่วมกับยาเคมีบำบัดที่เป็นการรักษามาตรฐาน เปรียบเทียบกับการใช้เฉพาะยาเคมีบำบัดที่เป็นการรักษามาตรฐานเท่านั้น ในการรักษาเป็นลำดับแรกสำหรับผู้ป่วยโรคมะเร็งกระเพาะปัสสาวะชนิดยูโรทีเลียลเซลล์ในระยะลุกลามเฉพาะที่หรือระยะแพร่กระจายซึ่งไม่สามารถผ่าตัดได้(MED-2561-05772)
4. การศึกษาวิจัยระยะที่ 3 แบบสุ่ม ปกปิดข้อมูลทั้งสองด้าน มีกลุ่มคู่ขนาน และควบคุมด้วยยาออกฤทธิ์ เพื่อเปรียบเทียบประสิทธิผลและความปลอดภัยของยาซีที-พี16 (CT-P16) และยาอวาสติน (Avastin®) ที่ได้รับอนุมัติในสหภาพยุโรป เป็นการรักษาขั้นแรกสำหรับโรคมะเร็งปอดชนิดที่ไม่ใช่เซลล์ขนาดเล็กและไม่ใช่สแควมัสเซลล์ระยะแพร่กระจายหรือกำเริบ(MED-2561-05717)
5. การศึกษาวิจัยระยะที่ 1 แบบเปิดเผยการรักษา ดำเนินการในพหุสถาบัน โดยมีการเพิ่มขนาดยาของยาซีเค-301 เมื่อให้ทางหลอดเลือดดำเป็นยาเดี่ยวแก่อาสาสมัครที่เป็นโรคมะเร็งระยะลุกลาม(MED-2561-05467)
6. การวิจัยทางคลินิกระยะที่สาม แบบสุ่มและไม่ปกปิดการรักษา เพื่อศึกษายาเดี่ยว นาซาร์ทินิบ เปรียบเทียบกับยาทางเลือกของแพทย์ผู้วิจัย (ยาเออร์โลทินิบ หรือ ยาเจฟิทินิบ) ในการเป็นการรักษาอันดับแรกของผู้ป่วยโรคมะเร็งปอดชนิดไม่ใช่เซลล์เล็ก ในระยะลุกลามเฉพาะที่หรือระยะแพร่กระจาย ที่มีการกลายพันธุ์ของยีนอีจีเอฟอาร์(MED-2561-05440)
7. การศึกษาวิจัยระยะที่ 3 แบบสุ่ม เปิดเผยข้อมูลการรักษา เพื่อประเมินประสิทธิผลและความปลอดภัยของการรักษาด้วยยาอะเล็คทินิบหลังการผ่าตัดเปรียบเทียบกับการรักษาด้วยยาเคมีบำบัดที่มีแพลทินัมเป็นส่วนประกอบหลังการผ่าตัด ในผู้ป่วยโรคมะเร็งปอดชนิดไม่ใช่เซลล์เล็กระยะ 1 บี (เนื้องอกมีขนาดตั้งแต่ 4 เซนติเมตรขึ้นไป) จนถึงระยะ 3 เอ ที่มีเอนไซม์อะนาพลาสติก ลิมโฟมา ไคเนสเป็น บวก ซึ่งได้รับการผ่าตัดเนื้องอกออกอย่างสมบูรณ์แล้ว(MED-2561-05384)
8. การศึกษาวิจัยระยะที่ 3 แบบสุ่มเลือก ปกปิดข้อมูลการรักษาทั้งสองด้าน ดำเนินการในหลายศูนย์วิจัย เพื่อประเมินประสิทธิผลและความปลอดภัยของการรักษาก่อนการผ่าตัดด้วยยาอะทีโซลิซูแมบ หรือยาหลอกร่วมกับยาเคมีบำบัดที่มีแพลทินัมเป็นส่วนประกอบ ในผู้ป่วยโรคมะเร็งปอดชนิดที่ไม่ใช่เซลล์ขนาดเล็ก ระยะที่ 2, 3เอ หรือ 3บี ที่สามารถผ่าตัดได้(MED-2560-05182)
9. การศึกษาระยะที่ 3 ในหลายสถาบัน โดยวิธีการสุ่มและเปิดเผยชื่อยา เพื่อศึกษาการใช้ยาเดอร์วาลูแม็บ (Durvalumab) และยาทรีมีลิมูแม็บ (Tremelimumab) ในการรักษาเป็นลำดับแรกสำหรับผู้ป่วยโรคมะเร็งตับชนิดที่ผ่าตัดไม่ได้ (การศึกษาหิมาลายา)(MED-2560-05083)
10. สเตลล่า – การศึกษาวิจัยแบบสุ่ม ศึกษาร่วมหลายสถาบันในหลายประเทศ ปกปิดการรักษาทั้งสองฝ่าย เพื่อประเมินประสิทธิผลและความปลอดภัยของยาเอ็มบี02 (ยาชีววัตถุคล้ายคลึงยาบีวาซิซูแมบ) โดยเปรียบเทียบกับยาอวาสติน เมื่อให้ร่วมกับยาคาร์บอพลาตินและยาปาคลิแทกเซล ในการรักษาผู้เข้าร่วมการศึกษาวิจัยที่ป่วยเป็นโรคมะเร็งปอดชนิดที่ไม่ใช่เซลล์ขนาดเล็กและไม่ใช่สแควมัสเซลล์ (เอ็นเอสซีแอลซี) ระยะสามบี/ระยะสี่(MED-2560-05065)
11. การศึกษาวิจัยทางคลินิกระยะ 1บี แบบสุ่ม เปิดเผยข้อมูลยา เพื่อศึกษาการรักษาด้วยยาเพกกิเลตเต็ดรีคอมบิแนนท์ฮิวแมนไฮยาลูโรนิเดส (PEGPH20) ร่วมกับยาซิสพลาติน และยาเจมไซทาบีน และการรักษาด้วยยาเพกพีเอช20 (PEGPH20) ร่วมกับยาอะทีโซลิซูแมบ ยาซิสพลาติน และยาเจมไซทาบีน เปรียบเทียบกับการใช้ยาซิสพลาตินร่วมกับยาเจมไซทาบีนในอาสาสมัครที่มีระดับไฮยาลูโรแนนสูง (HA-high) ซึ่งเป็นโรคมะเร็งท่อน้ำดีภายในและภายนอกตับและโรคมะเร็งถุงน้ำดีชนิดอะดีโนคาร์ซิโนมาในระยะลุกลามเฉพาะที่หรือระยะแพร่กระจาย ซึ่งไม่สามารถตัดออกได้และยังไม่เคยได้รับการรักษา(MED-2560-04936)
12. การศึกษาวิจัยระยะที่ 2/3 แบ่งเป็นสองส่วน แบบสุ่ม เปิดเผยข้อมูลการรักษาของยาดินูทูซิแมบและยาไอริโนทีแคนเปรียบเทียบกับยาไอริโนทีแคนสำหรับการรักษาลำดับที่สองในอาสาสมัครโรคมะเร็งปอดชนิดเซลล์ขนาดเล็กที่กลับเป็นซ้ำหรือไม่ตอบสนองต่อการรักษา(MED-2560-04698)
13. การศึกษาวิจัยระยะที่ 1/2 แบบเปิดเผยข้อมูลการรักษาเพื่อศึกษาความปลอดภัย เภสัชจลนศาสตร์ และประสิทธิผลของการเพิ่มขนาดยาซีเค-101 ชนิดรับประทานในผู้ป่วยที่เป็นโรคมะเร็งชนิดก้อนทึบระยะลุกลาม(MED-2560-04664)
14. การศึกษาวิจัยระยะที่ 1/2 แบบเปิดเผยข้อมูลการรักษาเพื่อศึกษาความปลอดภัย เภสัชจลนศาสตร์ และประสิทธิผลของการเพิ่มขนาดยาซีเค-101 ชนิดรับประทานในผู้ป่วยที่เป็นโรคมะเร็งชนิดก้อนทึบระยะลุกลาม(MED-2560-04671)
15. การศึกษาวิจัยระยะที่ ๓ พหุสถาบัน แบบสุ่ม ควบคุมด้วยยาหลอกของยาอะทีโซลิซูแมบ (แอนติบอดีต่อแอนติพีดี-แอล1) เมื่อให้ยาเพียงชนิดเดียวและเมื่อให้ร่วมกับยาเคมีบำบัดที่มีพลาตินัมเป็นส่วนประกอบในผู้ป่วยโรคมะเร็งเซลล์เยื่อบุผิวของกระเพาะปัสสาวะระยะลุกลามเฉพาะที่หรือระยะแพร่กระจายที่ยังไม่เคยได้รับการรักษามาก่อน(MED-2559-03956)
16. การศึกษาวิจัยระยะที่ 1b/2 แบบเปิดเผยข้อมูลการรักษาของการให้วัคซีนเปปไทด์IMU-131 ของตัวรับเฮอร์ทูร่วมกับยาซิสพลาตินและการให้ยาเคมีบำบัดด้วยยา 5-ฟลูออโรยูราซิลหรือยาเคพไซตาบีนอย่างใดอย่างหนึ่งในผู้ป่วยมะเร็งกระเพาะอาหารหรือมะเร็งบริเวณรอยต่อระหว่างหลอดอาหารกับกระเพาะอาหารระยะแพร่กระจายหรือระยะลุกลามที่มีระดับการแสดงออกของตัวรับเฮอร์ทู (HER2/NEU) มากกว่าปกติ(MED-2559-03904)
17. (A case report) Extending treatment efficacy in metastatic colorectal cancer(MED-2559-03702)
18.การศึกษาเชิงทดลองแบบมีกลุ่มควบคุมโดยสุ่มเปรียบเทียบผลของการรักษาด้วยเคมีบำบัดเสริมจากการรักษาด้วยการผ่าตัดด้วยยาเจ็มไซตาบีนหรือยาเจ็มไซตาบีนร่วมกับซีสพลาสตินในผู้ป่วยโรคมะเร็งท่อน้ำดี (MED-2562-06074)

 

โครงการวิจัยของ อาจารย์นายแพทย์ธัชธรรม์ สุขสมบูรณ์เจริญ

1. โครงการวิจัยระยะที่ 3 ซึ่งดำเนินการทั่วโลก ในหลายศูนย์ แบบปกปิดการรักษาทั้ง 2 ฝ่าย ชนิดสุ่ม เพื่อศึกษาประสิทธิผลของการให้ยาโซลบีทูซิแมบ (ไอแมบ362) ร่วมกับยาแคฟพอค (CAPOX) เทียบกับการให้ยาหลอกร่วมกับยาแคฟพอค (CAPOX) เมื่อให้เป็นการรักษาลำดับแรกในอาสาสมัครที่เป็นโรคมะเร็งกระเพาะอาหารหรือบริเวณรอยต่อระหว่างหลอดอาหารและกระเพาะอาหาร (GEJ) ชนิดอะดีโนคาร์ซิโนมา ระยะลุกลามเฉพาะที่ที่ไม่สามารถผ่าตัดได้หรือระยะแพร่กระจาย ที่มีผลตรวจคลอดิน (CLDN) 18.2 เป็นบวก และผลตรวจเฮอร์ทู ( HER2) เป็นลบ (MED-2561-05677)

 

โครงการวิจัยของ อาจารย์แพทย์หญิงธนิกา เกตุเผือก
1. การตรวจหาแร่ธาตุและปัจจัยเสียงต่อการเกิดมะเร็งปอดในผู้ป่วยโรงพยาบาลมหาราชนครเชียงใหม่ (MED-2561-05295)

รศ.พญ.บุษยามาส ชีวสกุลยง

Busyamas Chewaskulyong, M.D.

หัวหน้าหน่วยวิชามะเร็งวิทยา

รศ.นพ.ชัยยุทธ เจริญธรรม

Chaiyut Charoentum, M.D.

อ.ธัชธรรม์

ผศ.นพ.ธัชธรรม์ สุขสมบูรณ์เจริญ

Thatthan Suksombooncharoen, M.D.

อ.พญ.ธนิกา เกตุเผือก

Thanika Ketpueak, M.D.

ศ.เกียรติคุณ พญ.สุมิตรา ทองประเสริฐ

(อาจารย์พิเศษ)

Sumitra Thongprasert, M.D.

จิรัฐิติกาล สักออน

พยาบาล

เกตุกนก แก้วจริง

พยาบาล

สุชาภัสร์ แสนอิน

 พนักงานบริการฝีมือ
(ด้านวิทยาศาสตร์การแพทย์)

S__45498373

ชนัฏชิดชนก จันนคร

เจ้าหน้าที่สำนักงาน (เจ้าหน้าทีธุรการ)

S__97419266

วลัยลักษณ์ จองแดง

พยาบาล