MFM Services

งานบริการด้านเวชศาสตรมารดาและทารก

High Risk Ward & Labor Unit

    • รับปรึกษาวางแผนและติดตามภาวะครรภ์แทรกซ้อนที่มีความเสี่ยงสูงในห้องคลอดและหอผู้ป่วยใน เช่น โรคหัวใจขณะตั้งครรภ์ โรคชักแห่งครรภ์ เป็นต้น
    • มีความพร้อมในการตรวจติดตามสุขภาพทารกในครรภ์ระยะคลอดอย่างใกล้ชิด ทั้ง external และ internal fetal monitor
    • MFM consultation : รับปรึกษาปัญหาฉุกเฉินที่เกิดกับมารดาและทารกในครรภ์ทั่วไป

High Risk Antenatal Clinic

    • ให้บริการคลินิกครรภ์เสี่ยงสูงทุกวันอังคารบ่าย ดูแลการฝากครรภ์และติดตามผู้ป่วยนอกที่มีความเสี่ยงสูง เช่น มีภาวะแทรกซ้อนทางอายุรกรรม (เบาหวาน โรคหัวใจ โรคไต SLE การติดเชื้อ HIV ความดันโลหิตสูง ฯลฯ) ภาวะแทรกซ้อนทางสูติกรรม เช่น รกเกาะต่ำ ทารกพิการโดยกำเนิด เป็นต้น
    • ให้คำปรึกษาแก่คู่สมรสที่มีความเสี่ยงสูง โดยเฉพาะอย่างยิ่งการติดเชื้อ HIV ขณะตั้งครรภ์
    • ให้ความรู้แก่นักศึกษาแพทย์ที่หมุนเวียนผ่านคลินิกนี้
    • Thalassemia clinic : บริการให้คำปรึกษาแก่คู่สมรสที่มีความเสี่ยงต่อการมีบุตรเป็นโรคธาลัสซีเมียชนิดรุนแรง
      (วันพฤหัสบ่าย)

Prenatal Diagnosis

    • บริการคัดกรองพาหะธาลัสซีเมีย
    • Diagnostic ultrasound ในรายที่มีความเสี่ยง
    • เจาะน้ำคร่ำตรวจโครโมโซม (15-18 สัปดาห์) ในรายที่มีความเสี่ยง
    • เจาะเลือดสายสะดือทารก (ตรวจโครโมโซม หรือโรคธาลัสซีเมียรุนแรง และอื่น ๆ)

 Laboratory Service

  • ห้องปฏิบัติการทางเซลล์พันธุศาสตร์ ให้บริการและวิจัยด้านการตรวจโครโมโซมจากตัวอย่างน้ำคร่ำ และเลือดสายสะดือ
  • ห้องปฏิบัติการทางธาลัสซีเมียและชีวโมเลกุลพันธุศาสตร์ เปิดให้บริการการตรวจคัดกรองพาหะธาลัสซีเมีย โดยเฉพาะ EOFT, HbE screen, HbA2, PCR for alpha-thal1, ตลอดจน HPLC เพื่อวินิจฉัยฮีโมโกลบินบาร์ท หรือ beta-thalssemia เป็นต้น

 Ultrasound Service

    • เป็นศูนย์ให้บริการอัลตราซาวด์ชนิดให้รายละเอียดสูง (detailed ultrasound)
    • เป็นศูนย์ให้บริการอัลตราซาวด์ทางสูติศาสตร์ที่มีจำนวนครั้งการบริการมากที่สุดในภาคเหนือ
    • เป็นศูนย์รับผู้ป่วยที่ส่งต่อมาจากโรงพยาบาลต่าง ๆ ในเขตภาคเหนือ (referral center) ด้านวินิจฉัยภาวะพิการโดยกำเนิดของทารก ให้การวินิจฉัย พร้อมทั้งให้คำปรึกษา วางแผนการรักษาร่วมกับต้นสังกัดที่ส่งมา
    • เปิดบริการอัลตราซาวด์เร่งด่วนตลอด 24 ชั่วโมง (มีทีมงานให้บริการตลอด 24 ชั่วโมง)

Fetal Surveillance

    • เป็นศูนย์ให้บริการตรวจสุขภาพทารกในครรภ์ (ที่มีข้อบ่งชี้) ได้แก่ การตรวจ non-stress test, contraction stress test, biophysical profile, Doppler velocity นอกจากให้บริการในรายที่มีความเสี่ยงสูงที่มาฝากครรภ์ในโรงพยาบาลมหาราชนครเชียงใหม่แล้ว ยังเป็นศูนย์รับบริการแก่ผู้ป่วยส่งต่อ (referral center)

 Invasive Prenatal Diagnosis

    • Chorionic villous sampling การวินิจฉัยก่อนคลอดด้วยวิธีตัดชิ้นเนื้อรกไปตรวจ (ขณะนี้หยุดให้บริการชั่วคราว
      อยู่ระหว่างการปรับปรุงใหม่ทางห้องปฏิบัติการ)
    • Amniocentesis: เจาะน้ำคร่ำตรวจโครโมโซมตามข้อบ่งชี้ เปิดให้บริการที่มีจำนวนครั้งการให้บริการมากที่สุดใน
      ภาคเหนือ
    • Cordocentesis : เจาะเลือดสายสะดือทารกเพื่อวินิจฉัยในครรภ์ (โดยเฉพาะเพื่อการวินิจฉัยธาลัสซีเมียชนิดรุนแรง และความผิดปกติทางโครโมโซม ตลอดจนความผิดปกติอื่น ๆ เช่น การแตกของเม็ดเลือดแดงของทารกเป็นต้น) เป็นศูนย์ให้บริการที่มีสถิติ จำนวนครั้งของการตรวจมากที่สุดในประเทศไทย

Intrauterine Therapy

    • ให้บริการการรักษาทารกในครรภ์ตามข้อบ่งชี้ เช่นการรักษาด้วยการให้ยาในมารดาไปรักษาในทารก ลดปริมาณน้ำคร่ำด้วยยา เติมน้ำคร่ำในโพรงมดลูก ไปจนถึงการให้เลือดทารกในครรภ์ผ่านสายสะดือ หรือหัตถการ invasive อื่น ๆ เป็นต้น

Screening Program

    • Thalassemia screening บริการคัดกรองเป็นกิจวัตรในสตรีตั้งครรภ์ทุกรายเพื่อค้นหาพาหะและคู่เสี่ยงต่อการมี
      ธาลัสซีเมียชนิดรุนแรง
    • Ultrasound screening for anomaly : ตรวจคัดกรองทารกพิการในไตรมาสที่สองในรายที่มีความเสี่ยง และให้
      บริการเป็นกิจวัตรของการวัด nuchal translucency (NT) ในปลายไตรมาสแรกเพื่อคัดกรองทารากลุ่มอาการดาวน์ (ขณะนี้เป็นโครงการชั่วคราวขั้นทดลอง)
    • บริการตรวจคัดกรองตามมาตรฐานการฝากครรภ์ทั่วไป เช่น เบาหวาน การติดเชื้อ HIV การติดเชื้อไวรัสตับอักเสบบี เป็นต้น
Read More

Training

{tab=Training Level}

MFM Training

Residency Training

แพทย์ประจำบ้านนอกเหนือจากการเลคเชอร์ตามหัวข้อการฝึกอบรมด้านเวชศาสตร์มารดาและทารก ตามที่ราชวิทยาลัยสูติศาสตร์และนรีแพทย์แห่งประเทศไทยได้กำหนดไว้ จะต้องผ่านการฝึกอบรมพิเศษด้านเวชศาสตร์มารดาและ
ทารกอย่างน้อย 1 เดือน โดยเน้นการฝึกอัลตราซาวด์ การแปลผล fetal surveillance การดูแลครรภ์เสี่ยงสูง และการวินิจฉัยก่อนคลอด

Fellowship Training

  • หน่วยเวชศาสตร์มารดาและทารกได้รับการรับรองให้ฝึกอบรมการศึกษาต่อยอดจากราชวิทยาลัยสูติศาสตร์และนรีแพทย์แห่งประเทศไทย โดยสามารถรับฝึกอบรมได้ปีละ 1-2 คน
  • หลักสูตร คือ
    • ชื่อหลักสูตรภาษาไทย : หลักสูตรการฝึกอบรมต่อยอดอนุสาขาเวชศาสตร์มารดาและทารก
    • ชื่อหลักสูตรภาษาอังกฤษ : Curriculum for Subspecialty Training in Maternal-Fetal Medicine
    • ชื่อวุฒิภาษาไทย : ประกาศนียบัตรแสดงความรู้ความชำนาญในการประกอบวิชาชีพเวชกรรม อนุสาขาเวชศาสตร์มารดาและทารก
    • ชื่อย่อวุฒิภาษาไทย : ว.ว. (สูติ-นรีเวช), เวชศาสตร์มารดาและทารก
    • ชื่อวุฒิภาษาอังกฤษ : Certificate of Thai Board of Subspecialty in Maternal-Fetal Medicine
    • ชื่อย่อวุฒิภาษาอังกฤษ : Dip Thai Board Obstet & Gynecol, Cert. Maternal-Fetal Medicine
    • เวลาของการฝึกอบรม การฝึกอบรมจะใช้เวลา 2 ปี
    • เวลาเริ่มต้นการฝึกอบรมในแต่ละปี 1 มิถุนายน
    • ผู้ที่ผ่านการฝึกอบรม ได้รับการประเมินให้ผ่านโดยสถาบัน และการสอบตามเกณฑ์ของราชวิทยาลัย สูตินรีแพทย์ แห่งประเทศไทย จะได้รับประกาศนียบัตรแสดงความรู้ความชำนาญในการประกอบวิชาชีพเวชกรรม อนุสาขาเวชศาสตร์มารดาและทารก
  • การรับสมัครและคัดเลือกผู้เข้าฝึกอบรมต่อยอดสาขาเวชศาสตร์มารดาและทารก เวลาหมดเขตสมัครในแต่ละปี 31 มีนาคม
    • การยื่นสมัครเข้าฝึกอบรม กรอกแบบฟอร์มการสมัครและยื่นตรงต่อราชวิทยาลัยสูตินรีแพทย์แห่งประเทศไทย
    • การสัมภาษณ์ผู้ยื่นสมัครเข้ารับการฝึกอบรม สัมภาษณ์และกำหนดวันเวลาโดยสถาบันฝึกอบรม
    • คุณสมบัติของผู้รับการฝึกอบรม ต้องประกอบด้วยคุณสมบัติดังต่อไปนี้
      • ผู้ที่ได้รับวุฒิบัตรหรืออนุมัติบัตรแสดงความรู้ความชำนาญในการประกอบวิชาชีพเวชกรรม สาขาสูติศาสตร์นรีเวชวิทยาจากแพทยสภา
      • ผู้ที่จบการศึกษาและฝึกอบรมจากสถาบันต่างประเทศที่เทียบเท่าคุณสมบัติในข้อ 1
      • โดยความเห็นชอบของราชวิทยาลัยสูตินรีแพทย์แห่งประเทศไทย
      • ไม่มีประวัติเสื่อมเสียในด้านจริยธรรม

{tab=Fellowship Program}

โปรแกรมการฝึกอบรม (Fellowship)

แต่ละสถาบันฝึกอบรมจะต้องจัดระบบการบริหารเวลาอย่างเหมาะสม โดยมีตารางโปรแกรมการปฏิบัติงานที่ชัดเจน ซึ่งแต่ละสถาบันอาจปรับเปลี่ยน เวลาและปริมาณให้เข้าสภาพการปฏิบัติงานของแต่ละสถาบัน ตารางเวลาการปฏิบัติงานควรครอบคลุมหัวข้อหลักดังต่อไปนี้

1. การปฏิบัติงานด้านคลินิก

  • บริการผู้ป่วยนอกในคลินิกครรภ์เสี่ยงสูง หรือคลินิกที่สัมพันธ์กับเวชศาสตร์มารดาและทารก
  • บริการผู้ป่วยใน ในหอผู้ป่วยครรภ์เสี่ยงสูง รวมทั้งห้องคลอดครรภ์เสี่ยงสูง
  • บริการงานของสาขาต่อยอดในหน่วยเวชศาสตร์มารดาและทารก
  • งานบริการด้านคลื่นเสียงความถี่สูงทางสูติศาสตร์ รวมถึงคลื่นเสียงดอพเลอร์
  • การตรวจสุขภาพทารกในครรภ์ (NST, AST, CST, BPP, Doppler)
  • หัตถการรุกล้ำร่างกาย : เจาะน้ำคร่ำ (ปีที่หนึ่ง), ตัดชิ้นเนื้อรก และเจาะเลือดสายสะดือ, เทคนิครักษาทารกในครรภ์อื่น ๆ (ปีที่สอง)
  • รับปรึกษาเมื่อมีผู้ป่วย (on call) กรณีผู้ป่วยมีปัญหาซับซ้อน

2. การปฏิบัติงานทางห้องปฏิบัติการ (ปีละ 1 เดือน)

  • ปฏิบัติงานในห้องปฏิบัติการเซลล์พันธุศาสตร์
  • ปฏิบัติงานห้องปฏิบัติการที่เกี่ยวข้อง (พันธุกรรมระดับโมเลกุล, HPLC, screening lab ฯลฯ)

3. การหมุนเวียนปฏิบัติงานนอกภาควิชาสูติศาสตร์

  • ห้องทารกแรกเกิด (1 เดือน)
  • ภาควิชาวิสัญญีวิทยา (1 เดือน)
  • ภาควิชาพยาธิวิทยา (1 เดือน)

4. งานกิจกรรมการเรียนการสอน

  • วารสารสโมสรทางเวชศาสตร์มารดาและทารก (เดือนละ 1 ครั้ง)
  • ประชุมวิชาการเวชศาสตร์มารดาและทารก (เดือนละ 1 ครั้ง)
  • รายงานผู้ป่วย (คลื่นเสียงความถี่สูง, ครรภ์ที่มีปัญหาซับซ้อน) (สัปดาห์ละ 1 ครั้ง)
  • วารสารสโมสร, หัวข้อทบทวนวิชาการ ของภาควิชา (ส่วนที่เกี่ยวข้อง)
  • ร่วมฟังบรรยายทางวิชาการ (อย่างน้อยเดือนละ 1 ครั้ง) หัวข้อการบรรยายที่สำคัญอาจมีดังต่อไปนี้ (ปรับได้ตามความเหมาะสม )
    • การให้คำปรึกษาทางพันธุกรรม
    • เซลล์พันธุศาสตร์
    • พันธุศาสตร์ระดับโมเลกุล
    • การคัดกรองและวินิจฉัยก่อนคลอดความผิดปกติของโครโมโซม
    • การคัดกรองและวินิจฉัยก่อนคลอดโรคธาลัสซีเมีย
    • โรคและพยาธิวิทยาของทารก
    • การตรวจคลื่นเสียงความถี่สูงขั้นละเอียดในการคัดกรองความพิการโดยกำเนิดของระบบประสาท หัวใจ ทางเดินอาหาร ท่อทางเดินปัสสาวะ โครงร่าง แขนขา
    • คลื่นเสียงความถี่สูงของหัวใจทารกในครรภ์
    • ดอพเลอร์ในทางสูติศาสตร์
    • ทารกบวมน้ำ
    • ทารกที่มีความผิดปกติของโครโมโซม
    • การติดเชื้อของทารกในครรภ์
    • กลุ่มอาการสำคัญของทารกในครรภ์
    • ทารกโตช้าในครรภ์
    • การรักษาทารกในครรภ์
    • การติดเชื้อเอชไอวีในสตรีตั้งครรภ์
    • การตรวจสุขภาพทารกก่อนระยะคลอด
    • การตรวจสุขภาพทารกในระยะคลอด
    • การใช้ยาในสตรีตั้งครรภ์
    • โรคแทรกซ้อนทางอายุกรรมในสตรีตั้งครรภ์ที่สำคัญ เช่น เบาหวาน โรคหัวใจ โรคไต

5. การหมุนเวียนต่างภาควิชา

  • วิสัญญีวิทยา (1 เดือน)
  • กุมารเวชศาสตร์ทารกแรกเกิด (1 เดือน)
  • พยาธิวิทยา (1 เดือน)

6. การวิจัย

  • เลือกทำวิจัย 1 เรื่องที่เกี่ยวข้องกับเวชศาสตร์มารดาและทารก
  • นำเสนอโครงร่างวิจัยภายใน 6 เดือนแรกของการฝึกอบรม
  • ทำวิจัย พร้อมรายงานความคืบหน้าเป็นระยะในการประชุมทางวิชาการของหน่วย
  • ให้ความร่วมมือช่วยเหลืองานวิจัยอื่น ๆ ในหน่วยตามความเหมาะสม

 

{tab=Training Evaluation}

การประเมินผล

ผู้ที่ได้รับการฝึกอบรมแพทย์เฉพาะทางต่อยอดสาขาเวชศาสตร์มารดาและทารกครบตามหลักสูตรแล้ว และผ่านการประเมินผลจากสถาบันฝึกอบรม จะมีสิทธิ์สมัครสอบเพื่อประกาศนียบัตรสาขาเวชศาสตร์มารดาและทารก ตามที่กำหนดโดยราชวิทยาลัยสูตินรีแพทย ์แห่งประเทศไทย

1. การประเมินเพื่อปรับปรุง (formative evaluation)

เป็นการประเมินในระหว่างการฝึกอบรมซึ่งประเมินผลอย่างเป็นทางการโดยคณาจารย์ ประจำหน่วยของแต่ละสถาบัน และรับรองโดยหัวหน้าสถาบัน ซึ่งประเมินทั้ง

  • ด้านปัญญาวิสัย (cognitive domain) คือการประเมินด้านความรู้ ความสามารถในการใช้วิจารณญาณเพื่อการแก้ปัญหา โดยประเมินจากการเฝ้าสังเกตพัฒนาการการเรียนรู้ การดูแลรักษา การปฏิบัติหน้าที่จากสถานการณ์จริง การแสดงออกในการแก ้ปัญหา แนวคิด การวิเคราะห์ข้อมูล การมีส่วนร่วมในกิจกรรมทางวิชาการต่าง ๆ
  • ด้านจลนพิสัย (psychomotor domain) คือการประเมินด้าน ทักษะในการบริบาลผู้ป่วย ทักษะในการทำหัตถการ ทักษะในการสื่อสาร ทักษะในการให้คำปรึกษา ทักษะในการถ่ายทอดความรู้หรือข้อแนะนำ โดยประเมินจากการเฝ้าสังเกตจากการปฏิบัติหน้าที่ในสถานการณ์จริง เน้นทักษะและขั้นตอนการปฏิบัติ รวมทั้งการประเมินจากสมุดบันทึกการปฏิบัติงาน (log book)
  • ด้านเจตคติพิสัย (affective domain) เป็นการประเมินด้านจริยธรรม และมารยาทแห่งการประกอบวิชาชีพ วัดจากการเฝ้าสังเกตพฤติกรรม เช่น ความซื่อสัตย์สุจริต ความรับผิดชอบ การตรงต่อเวลา การมีมนุษยสัมพันธ์ที่ดีต่อผู้ป่วย ผู้เกี่ยวข้อง และเพื่อนร่วมงาน การควบคุมอารมณ์ได้ การมีน้ำใจ การปฏิบัติตามกฏหมายว่าด้วยสิทธิของผู้ป่วย เป็นต้น ในกรณีที่ผู้รับการฝึกอบรมไม่สามารถ ปฏิบัติตามแนวทางที่กำหนดไว้ ขาดความรับผิดชอบ ขาดจริยธรรม ผู้ฝึกอบรมอาจอาจพิจารณายุติการฝึกอบรมได้

สถาบันฝึกอบรมจะต้องทำหน้าที่ประเมินทั้งสามกรณีข้างต้น แล้วสรุปว่าผ่าน จึงมีสิทธิ์สมัครสอบส่วนกลาง
เมื่อสิ้นสุดการฝึกอบรม

2. การประเมินผลเมื่อสิ้นสุดการฝึกอบรม (summative evaluation)

ประเมินโดยคณะกรรมการส่วนกลางจากราชวิทยาลัยสูตินรีแพทย์แห่งประเทศไทย โดยประเมินผลการวิจัย การสอบข้อเขียน และการสอบสัมภาษณ์ การสอบผ่าน หมายถึงการสอบผ่านทั้งสามกรณีต่อไปนี้ (ถ้าไม่ผ่านให้สอบใหม่เฉพาะส่วนที่ไม่ผ่านในโอกาสต่อไป)

  • การตรวจวิจัยฉบับสมบูรณ์ ดังเกณฑ์ที่ได้กล่าวไว้ในส่วนการประเมินผลวิจัยของราชวิทยาลัยสูตินรีแพทย์แห่งประเทศไทย
  • สอบข้อเขียน ทำการสอบเฉพาะประเภท multiple choices question (MCQ) ซึ่งออกข้อสอบโดยคณะกรรมการส่วนกลางจำนวน 150 ข้อ (ข้อสอบที่สอดคล้องกับเนื้อหาวิชาของหลักสูตร) ต้องสอบผ่านเกินร้อยละ 60 จึงถือว่าสอบผ่าน
  • การสอบปากเปล่า สอบโดยคณะกรรมการส่วนกลาง

 

{tab=Course Content}

Course Contents (Fellowship)

1. มีความรู้ก้าวหน้าทางเวชศาสตร์มารดาและทารก

วัตถุประสงค์:

ผู้ฝึกอบรมมีความเข้าใจอย่างดีและสามารถอภิปรายได้ดีถึงความรู้ก้าวหน้าทางวิทยาศาสตร์พื้นฐานของการตั้งครรภ์ทั้งในแนวกว้างและแนวลึกในหัวข้อดังต่อไปนี้

วิทยาศาสตร์พื้นฐานของตั้งครรภ์

1. เอ็นโดครีนวิทยาของการตั้งครรภ์

  • โครงสร้าง การสังเคราะห์ และการควบคุมการทำงานของฮัยโปธาลามัส ต่อมใต้สมอง ต่อมธัยรอยด์ ต่อมพาราธัยรอยด์ ต่อมหมวกไต ตับอ่อน รังไข่ และรก
  • การทำงาน เมตะบอลิซึม ของฮอร์โมนสำคัญต่าง ๆ เช่น เอสโตรเจน แอนโดรเจน คอร์ติซอล ธัยรอยด์ฮอร์โมน ฮอร์โมนจากรก
  • Paracrine hormone ต่าง ๆ เช่น พรอสตาแกลนดินส์ insulin-like growth factors, inhibin เป็นต้น
  • Cytokines ต่าง ๆ เช่น interleukin เป็นต้น

2. สรีรวิทยาของการตั้งครรภ์และการคลอด

  • การปรับตัวของระบบต่าง ๆ ขณะตั้งครรภ์
  • ระบบหัวใจและหลอดเลือด
  • ระบบโลหิตวิทยา
  • ระบบทางเดินหายใจ
  • ระบบทางเดินปัสสาวะและระบบสืบพันธุ์
  • ระบบทางเดินอาหาร
  • การเปลี่ยนแปลงอื่น ๆ เช่น โภชนาการ อีเลคโตรไลท์ สภาพจิตใจและอารมณ์
  • สรีรวิทยาของการเจ็บครรภ์คลอด : ระดับโมเลกุล และความสัมพันธ์ทางคลินิก

3. คัพภะวิทยาและสรีรวิทยาของทารกในครรภ์

  • พัฒนาการของทารกในครรภ์ตั้งแต่ gametogenesis
  • การทำงานของโครงสร้างต่าง ๆ ของทารกในครรภ์ (ระบบเอ็นโดครีน หัวใจและหลอดเลือด การดิ้น โลหิตวิทยา ทางเดินอาหาร ทางเดินปัสสาวะ ระบบอิมมูน เป็นต้น)
  • กลไกการตอบสนองต่อภาวะขาดออกซิเจน

4. การก่อลูกวิรูป (teratology)

  • ความรู้ก้าวหน้าเกี่ยวกับปัจจัยแวดล้อมต่าง ๆ ต่อการเกิดความพิการของทารก
  • สารก่อลูกวิรูปที่สำคัญ เช่น ไวรัสต่าง ๆ แอลกอฮอล์ โคเคน เป็นต้น

5. สรีรวิทยาของรก

  • พัฒนาการและการทำงานของรก รวมทั้งการขนย้ายสารผ่านรก การแลกเปลี่ยนสารต่าง ๆ
  • การทดสอบการทำงานของรก : เช่น Doppler velocimetry
  • การสร้างและหลั่งสารต่าง ๆ ของรก

7. ชีวเคมี และเภสัชวิทยาที่สัมพันธ์กับการตั้งครรภ์

  • เมตาบอลิซึมของยาหรือสารต่าง ๆ ที่ผ่านรก และผลต่อทารก
  • ยาหรือสารต่าง ๆ ที่มีผลก่อลูกวิรูป
  • ยาและการหลั่งน้ำนม
  • ปฏิกริยาระหว่างยาต่าง ๆ

8. พยาธิวิทยาที่สัมพันธ์กับทารกและการตั้งครรภ์

  • พยาธิวิทยาของทารก (การชัณสูตรศพ ความพิการโดยกำเนิดที่สำคัญ การแท้ง เป็นต้น)
  • พยาธิวิทยาของรก (รูปร่างและขนาดที่ผิดปกติ ก้อนเนื้องอก การเกาะของสายสะดือผิดที่ เป็นต้น)

9. พันธุศาสตร์

  • การถ่ายทอดทางพันธุกรรมในรูปแบบต่าง ๆ
  • โรคสำคัญทางพันธุกรรม เช่น ธาลัสซีเมีย ฮีโมฟิลเลีย เปลือกต่อมหมวกไตหนา เป็นต้น
  • Cytogenetics
  • ความผิดปกติทางโครโมโซมที่สำคัญ ได้แก่ trisomy 13, 18, 21, triploidy, 45X เป็นต้น
  • พันธุศาสตร์ชีวโมเลกุล (องค์ประกอบและการทำงานของยีนส์ PCR มิวเตชั่น วิธีการตรวจหามิวเตชั่นต่าง ๆ วิธีเรียงลำดับเบส เป็นต้น)
  • การให้คำปรึกษาทางพันธุกรรม

10. อิมมูโนวิทยาที่สัมพันธ์กับการตั้งครรภ์

  • หลักพื้นฐานในการตอบสนองทางภูมิคุ้มกัน
  • ต้นกำเนิดและการทำงานของอิมมูโนกลอบบูลินต่าง ๆ และ T,B lymphocytes
  • ระบบ HLA
  • Monoclonal antibodies
  • ทารกในฐานะ graft
  • การประยุกต์ความรู้ในทางคลินิก เช่น Rh isoimmunization หรือโรคออโตอิมมูน เป็นต้น

ศาสตร์ที่เกี่ยวข้อง

1. วิสัญญีวิทยา

  • การออกฤทธิ์และจลน์ศาสตร์ของยาทางวิสัญญีวิทยา : ยาดมสลบ ยาชาเฉพาะที่ ยาระงับปวด
  • ภาวะแทรกซ้อนที่สำคัญ : หัวใจหยุดเต้น การหยุดหายใจ ปฏิกริยาจากยา การสูดสำลัก
  • การดูแลและติดตามผู้ป่วยที่ไม่รู้สึกตัว ผู้ป่วยหนัก

2. ทารกแรกคลอด

  • สรีรวิทยาของรกแรกคลอด
  • การช่วยชีวิตทารกแรกคลอด
  • ปัญหาที่พบบ่อยในทารกแรกคลอด : ภาวะกดการหายใจ เหลือง ติดเชื้อ ชัก น้ำตาลต่ำ แคลเซียมต่ำ อุณหภูมิต่ำ เลือดออกในสมอง โตช้า ปัญหาที่สัมพันธ์กับการคลอดก่อนกำหนด
  • ภาวะพิการโดยกำเนิดที่สำคัญ เช่น กลุ่มอาการดาวน์ เป็นต้น

3. การวิจัยและชีวสถิติ

  • วิธีการวิจัย การให้เหตุผลทางวิทยาศาสตร์
    • การอ่านวารสารทางคลินิก (ธรรมชาติการดำเนินโรค พยากรณ์ สาเหตุ การวินิจฉัย การรักษา)
    • การอ่านบทความทบทวนทางวิชาการ
  • วิธีการของกาวิจัย การเขียนโครงร่าง
    • การสร้างคำถามวิจัยและเรียงลำดับ
    • ชนิดของการวิจัย : (descriptive, diagnostic, etiologic, intervention, systemic review)
    • อคติในการทำวิจัย
    • จริยธรรมในการวิจัย
    • การบริหารโครงการ
    • การตีพิมพ์บทความทางวิทยาศาสตร์ในวารสาร
  • การวัดต่าง ๆ (measurement)
    • ความเชื่อถือและความสมเหตุผล
    • เครื่องมือและการวัดในทางคลินิก, การออกแบบสอบถาม, การเฝ้าสังเกต เทคนิคการสัมภาษณ์
    • คอมพิวเตอร์
    • การใช้คอมพิวเตอร์ในการสื่อสาร ไมโครซอฟต์ การบริหารเอกสารอ้างอิง นำเสนอเนื้อหาและกราฟฟิค
  • เศรษฐศาสตร์เชิงคลินิก
    • ภาพรวม และการวิเคราะห์
  • วิทยาศาสตร์สุขภาพเชิงสังคม (health social science)
    • การตรวจวัดสุขภาพและคุณภาพชีวิต การอภิปรายกลุ่มจำเพาะ การสัมภาษณ์ในรายละเอียด
  • ชีวสถิติ (biostatisitcs)
    • ภาพรวม
    • สถิติสำหรับการประเมินทางคลินิก
    • การรวบรวมข้อมูลและนำเสนอ โอกาสและการกระจาย การกำหนดความเสี่ยง
    • ประชากรและการเลือกกลุ่มตัวอย่าง, การคำนวณขนาดตัวอย่าง
    • การวิเคราะห์แบบต่าง ๆ (analysis of categorial data, survival analysis, nonparametric test, correlation & regression, analysis of variance, meta-analysis)

2. มีความรู้และทักษะสูงในการบริบาลครรภ์เสี่ยงสูง Top of Page

วัตถุประสงค์

1. ผู้ฝึกอบรมสามารถที่จะอภิปรายถึงภาวะแทรกซ้อนทางอายุรศาสตร์ ศัลยศาสตร์ และสูติศาสตร์ในสตรีตั้งครรภ์ที่พบได้บ่อย ในหลายแง่มุม

  • ระบาดวิทยา
  • สาเหตุ / ปัจจัยส่งเสริม
  • พยาธิสรีรวิทยา
  • ผลของการตั้งครรภ์ต่อโรค
  • ผลของโรคต่อการตั้งครรภ์
  • อาการและอาการแสดงทางคลินิก
  • การวินิจฉัยและการวินิจฉัยแยกโรค
  • การตรวจค้นเพื่อการวินิจฉัย
  • การดูแลรักษา
  • พยากรณ์โรคและการติดตาม

 

2. ผู้ฝึกอบรมสามารถให้การวินิจฉัยและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางอายุรศาสตร์ ศัลยศาสตร์ และสูติศาสตร์ที่พบได้บ่อย ๆ ในสตรีตั้งครรภ์

ภาวะแทรกซ้อนทางอายุรศาสตร์

1. ความดันโลหิตสูง
2. เบาหวาน
3. ความผิดปกติทางเอ็นโดครีนอื่น ๆ เช่น โรคต่อมธัยรอยด์ พาราธัยรอยด์ ต่อมใต้สมอง ต่อมหมวกไต
4. ความผิดปกติทางโลหิตวิทยา เช่น โลหิตจาง การแข็งตัวของเลือดผิดปกติ เกล็ดเลือดต่ำ เป็นต้น
5. โรคหัวใจและหลอดเลือด เช่น

  • โรคหัวใจรูห์มาติค
  • หัวใจพิการโดยกำเนิด
  • Infective endocarditis
  • กล้ามเนื้อหัวใจผิดปกติ
  • หัวใจเต้นผิดจังหวะ
  • การปลูกถ่ายเปลี่ยนหัวใจ

6. โรคไต

  • การติดเชื้อทางเดินปัสสาวะ
  • นิ่วในไต
  • acute glomerulonephritis
  • nephrotic syndrome
  • tubular and cortical necrosis
  • ไตล้มเหลว
  • ไตเทียม

7. โรคระบบทางเดินอาหาร เช่น แพ้ท้องรุนแรง ทางเดินอาหารอุดตัน ตับอ่อนอักเสบ ไส้ติ่งอักเสบ ถุงน้ำดีอักเสบ แผลในกระเพาะและลำไส้ เป็นต้น
8. โรคตับ

  • ตับอักเสบ
  • Cholestasis
  • fatty liver
  • ตับแข็ง และอื่น ๆ

9. โรคของปอด

  • หืด
  • วัณโรค
  • การติดเชื้อทางเดินหายใจ
  • ARDS
  • Pulmonary embolism
  • Aspiration pneumonitis

10. โรคทางระบบประสาท

  • ลมชัก
  • Myasthenia gravis
  • Guillain-Barre syndrome
  • เนื้องอกในสมอง
  • Migraine
  • โรคหลอดเลือดในสมอง

11. โรคออโตอิมมูนและเนื้อเยื่อเกี่ยวพัน

  • SLE
  • Rheumatoid arthritis
  • Antiphospholipid antibodies

12. โรคมะเร็ง

  • มะเร็งระบบสืบพันธุ์ (มะเร็งปากมดลูก มะเร็งรังไข่ มะเร็งเนื้อรก)
  • มะเร็งเม็ดเลือดขาว
  • มะเร็งต่อมน้ำเหลือง
  • มะเร็งเต้านม เป็นต้น

13. โรคผิวหนัง

  • Herpes gestationis
  • impetigo herpetiformis
  • PUPPP

14. การใช้สารเสพย์ติด : แอลกอฮอล์ กาแฟ บุหรี่ ยาบ้า โคเคน เฮโรอีน บาร์บิทุเรท ยากล่อมประสาท เป็นต้น
15. โรคทางจิตเวชศาสตร์ เช่น ภาวะซึมเศร้า หรือโรคจิตหลังคลอด
16. โรคติดเชื้อ

  • การติดเชื้อแบคทีเรีย : Group A, B Streptococcus, Salmonella Mycoplasma, Listeriosis, Shigella, Haemophilus, Anaerobic bacteria เป็นต้น
  • การติดเชื้อไวรัส : Rubella, Parvovirus, Varicella-Zoster, Coxsackie, Cytomegalovirus, Hepatitis เป็นต้น
  • การติดเชื้อปรสิต เช่น มาเลเรีย Toxoplasmosis
  • การติดเชื้อรา เช่น Pneumocystis crinii, Cryptococcosis, Candidiasis,Coccidiomycosis เป็นต้น
  • โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ เช่น เอชไอวี ซิฟิลิส หนองใน คลามิเดีย แผลริมอ่อน เริม ทริโคโมแนส เป็นต้น

ภาวะแทรกซ้อนทางศัลยศาสตร์

1. การดูแลในภาวะวิกฤติและการบาดเจ็บ

  • การช่วยฟื้นคืนชีพ (CPR)
  • การให้เลือดและองค์ประกอบเลือด
  • การช่วยเหลือทางเดินหายใจ
  • บาดเจ็บต่าง ๆ (อุบัติเหตุรถยนต์ การกระแทก ถูกแทง เผาไหม้)

2. ภาวะ acute abdomen

  • ไส้ติ่งอักเสบเฉียบพลัน
  • ปีกมดลูกบิดขั้ว
  • ถุงน้ำรังไข่แตก
  • นิ่วในถุงน้ำดี ถุงน้ำดีอักเสบ
  • ลำไส้อุดตัน

3. ตกเลือด – เลือดออกในทางเดินอาหารส่วนบน / ส่วนล่าง

ภาวะแทรกซ้อนทางสูติศาสตร์

1. คลอดยาก (แรงเบ่งไม่ดี ทารกท่าผิดปกติ เชิงกรานแคบ)
2. ตกเลือด (แท้ง ครรภ์นอกมดลูก ครรภ์ไข่ปลาอุก รกเกาะต่ำ รกลอกตัวก่อนกำหนด มดลูกแตก มดลูกไม่แข็งตัว รกค้าง รกติด มดลูกปลิ้น ช่องทางคลอดฉีกขาด)
3. ความดันโลหิตสูง:

  • Pregnancy induced hypertension
  • Pregnancy aggravated hypertension
  • Transient hypertension

4. การคลอดก่อนกำหนด / น้ำเดินก่อนกำหนด
5. ครรภ์เกินกำหนด
6. ทารกโตช้าในครรภ์
7. ครรภ์แฝด
8. การสูญเสียทารกซ้ำ ๆ (recurrent pregnancy losses)
9. ทารกพิการโดยกำเนิด
10. โรคของรก สายสะดือ และเยื่อหุ้มเด็ก

  • เยื่อหุ้มเด็กอักเสบ
  • ครรภ์แฝดน้ำ
  • น้ำคร่ำน้อย
  • รกน้อย รกบาง circummarginate เป็นต้น
  • เนื้อรกตาย
  • ความผิดปกติของสายสะดือ : ปม บิด ตีบ ถุงน้ำ ก้อนเลือดคั่ง บวม เนื้องอก เส้นเลือดแดงสายสะดือเส้นเดียว เกาะผิดที่ (เช่น ที่ขอบรก เยื่อหุ้มเด็ก) vasa previa

3. มีความรู้และทักษะสูงในการประเมินสุขภาพทารกในครรภ์

วัตถุประสงค์

ผู้ฝึกอบรมมีความรู้ความเข้าใจในหลักการ ข้อดี ข้อเสีย และสามารถแปลผลการทดสอบสุขภาพทารกในครรภ์ด้วยเทคนิคต่าง ๆ ทั้งในระยะก่อนคลอดและ
ระยะคลอด

1. เทคนิคต่าง ๆ ในการประเมินสุขภาพทารกในครรภ์ในระยะก่อนคลอด

  • การนับเด็กดิ้น
  • Nonstress test / Acoustic stimulation test
  • Contraction stress test
  • Biophysical profile
  • Modified biophysical profile
  • Doppler velocimetry

2. เทคนิคการประเมินสุขภาพทารกในครรภ์ในระยะคลอด

  • Fetal heart rate monitoring (external/internal)
  • Acoustic stimulation test
  • Scalp blood pH

4. มีความรู้และทักษะสูงในการคัดกรองและวินิจฉัยก่อนคลอด Top of Page

วัตถุประสงค์

ผู้ฝึกอบรมมีความรู้ก้าวหน้าเกี่ยวกับวิทยาศาสตร์พื้นฐานของการวินิจฉัยก่อนคลอด สามารถคัดกรอง/วินิจฉัยโรคในทารกที่สำคัญได้อย่างมีประสิทธิภาพ ได้แก่

1. ความผิดปกติของโครโมโซมที่พบได้บ่อย
2. โรคธาลัสซีเมียชนิดร้ายแรง
3. ความผิดปกติทางโครงสร้าง
4. กลุ่มโรคจำเพาะที่ประวัติมีความเสี่ยง เช่น ฮีโมฟิลเลีย เปลือกต่อมหมวกไตหนา เป็นต้น

1. วิทยาศาสตร์พื้นฐานของการวินิจฉัยก่อนคลอด

  • ผู้ฝึกอบรมมีความรู้เกี่ยวกับ
    • พันธุศาสตร์
    • พัฒนาการ และ สรีรวิทยาของทารกในครรภ์
    • ความรู้เกี่ยวกับโรคของทารก
  • ผู้ฝึกอบรมสามารถอธิบายและแปลผลความผิดปกติเกี่ยวกับ
  • วิธีการถ่ายทอดทางพันธุกรรม
  • เทคนิคทางห้องปฏิบัติการเกี่ยวกับการตรวจโครโมโซม
  • การวิเคราะห์ดีเอ็นเอ
  • ความรู้เกี่ยวกับพัฒนาการของทารกในครรภ์
  • ความรู้เกี่ยวกับสรีรวิทยาของทารกในครรภ์
  • โรคความผิดปกติทางโครโมโซม โดยเฉพาะ trisomy 21, 18, 13 triploidy, XO เป็นต้น
  • โรคทางพันธุกรรม: โดยเฉพาะอย่างยิ่งธาลัสซีเมียชนิดร้ายแรง ฮีโมฟิลเลีย เป็นต้น
  • ภาวะความพิการโดยกำเนิดของระบบต่าง ๆ (ส่วนอัลตราซาวน์)

2. การคัดกรองค้นหาครรภ์ที่มีความเสี่ยง

  • ผู้ฝึกอบรมมีความรู้เกี่ยวกับการคัดกรองค้นหาการตั้งครรภ์ที่มีความเสี่ยงต่อโรคสำคัญ
  • ผู้ฝึกอบรมมีความสามารถในการคัดกรอง
    • คัดกรองความเสี่ยงต่อกลุ่มอาการดาวน์ โดย ประวัติและอายุ, MSAFP และ triple screen ประวัติในครอบครัว
      • อายุมารดา
      • MSAFP/Triple screen
      • มาร์กเกอร์ทางคลื่นเสียงความถี่สูง
    • คัดกรองความเสี่ยงต่อธาลัสซีเมียชนิดร้ายแรง (รวมทั้งแปลผลทางห้องปฏิบัติการ) Retrospective screening
      • Prospective screening
      • EOFT, MCV
      • DCIP, HbE screen
      • HbA2, PCR
    • การคัดกรองความผิดปกติทางโครงสร้าง
      • คลื่นเสียงความถี่สูงในรายมีความเสี่ยง
      • คลื่นเสียงความถี่สูงเป็นกิจวัตรขณะกึ่งการตั้งครรภ์
      • คัดกรองความพิการทางโครงสร้างด้วยอัลตราซาวน์ได้อย่างมีประสิทธิภาพ
      • คัดกรองโรคจำเพาะอื่น ๆ โดยอาศัยประวัติความเสี่ยง เช่น ฮีโมฟิลเลีย ต่อมหมวกไตหนาตัว Rh isoimmunization เป็นต้น

3. การให้คำปรึกษาการวินิจฉัยก่อนคลอด (Genetic Counseling)

  • ผู้ฝึกอบรมสามารถเข้าใจอย่างดีในหลักการ ความสำคัญ และวิธีการของการให้คำปรึกษาก่อนคลอด
  • ผู้ฝึกอบรมสามารถให้คำปรึกษาได้อย่างมีประสิทธิภาพในเรื่องของ
    • ข้อบ่งชี้ (รายที่มีความเสี่ยงต่อการมีทารกที่เป็นโรค)
    • รายละเอียดของโรคที่พบบ่อย ได้แก่ ความผิดปกติทางโครโมโซม ธาลัสซีเมีย เป็นต้น
    • แนวทางในการค้นหารายละเอียดของโรคทางพันธุกรรมที่พบไม่บ่อย
    • ขั้นตอนในการให้คำปรึกษา
    • การซักประวัติและการตรวจร่างกายอย่างละเอียด
    • การตรวจพิเศษทางห้องปฏิบัติการ
    • การบันทึกประวัติครอบครัวเป็นพงศาวลี
    • การประเมินแบบแผนการถ่ายทอด (AD, AR, X-linked, multifactorial)
    • ความผิดปกติทางโครโมโซม
    • การประเมินความเสี่ยงต่อการมีลูกที่เป็นโรค
    • การบอกแนวทางในการหลีกเลี่ยงการมีลูกที่เป็นโรค
    • ให้ความรู้เกี่ยวกับโรค
    • เทคนิคในการให้ข้อมูล

4. หลักการและเทคนิคในการวินิจฉัยก่อนคลอด

ผู้ฝึกอบรมมีความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการ วิธีการ ข้อบ่งชี้ ข้อดีข้อเสีย ภาวะแทรกซ้อน ของเทคนิคในการวินิจฉัยก่อนคลอดต่าง ๆ

ผู้ฝึกอบรมสามารถอภิปราย หรือมีทักษะในการทำการวินิจฉัยก่อนคลอดดังนี้

1. Non-invasive technique

1.1 การวินิจฉัยก่อนคลอดด้วยคลื่นเสียงความถี่สูง (วินิจฉัยความผิดปกติทางโครงสร้าง)

  • สามารถคัดกรองความพิการโดยกำเนิดทางโครงสร้างได้อย่างมีประสิทธิภาพ
  • สามารถตรวจวินิจฉัยความผิดปกติโดยกำเนิด (ระดับละเอียด)
  • สามารถตรวจค้นหามาร์กเกอร์ของความผิดปกติทางโครโมโซมได้ ทั้งในไตรมาสแรกและ
    ไตรมาสที่สอง

1.2 การตรวจสารในเลือดมารดา

  • มีความรู้และแปลผลการคัดกรองเกี่ยวกับมาร์กเกอร์ต่าง ๆ ในเลือดมารดา เช่น Rh titer, Rubella titer ตลอดจนสารเคมีต่าง ๆ เช่น alpha-fetoprotein, hCG เป็นต้น
  • การคัดกรองด้วย NTDs และกลุ่มอาการดาวน์ด้วย triple test
  • เข้าใจในการแปลผลกำหนดความเสี่ยงของทารกจากข้อมูลเช่น อายุ triple test
  • คัดกรองพาหะโรคทางพันธุกรรมจากเลือดคู่สมรส โดยเฉพาะพาหะต่อธาลัสซีเมียชนิดร้ายแรง

1.3 การวินิจฉัยทารกจากเซลล์ลูกในเลือดมารดา

การตรวจหาเซลล์ของลูกในเลือดแม่เพื่อการวินิจฉัยก่อนคลอด เข้าใจถึงวิธีการแยกเซลล์ลูกจากเลือดแม่ และหลักการทางห้องปฏิบัติการในการวิเคราะห์ดีเอ็นเอได้แก่

  • PCR
  • DNA sequencing
  • Southern blot เป็นต้น
  • ตรวจโครโมโซมลูก

1.4 การล้างบริเวณปากมดลูก (transcervical flushing)

เข้าใจ อธิบายถึงหลักการ

1.5 การวินิจฉัยก่อนการฝังตัว (Preimplantation)

เข้าใจ อธิบายถึงหลักการและให้คำปรึกษาแก่คู่สมรสที่มีปัญหาโรคทางพันธุกรรม ที่มีความเสี่ยงสูง หรือรายที่มีบุตรยาก ที่ต้องอาศัยเทคโนโลยีช่วยภาวะเจริญพันธุ์อยู่แล้ว

2. Invasive technique

2.1 การเจาะดูดน้ำคร่ำ (amniocentesis)

มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับ

  • หลักการ หรือเทคนิค
  • ข้อบ่งชี้
  • ความเสี่ยง และภาวะแทรกซ้อน
  • การแปลผลและความเชื่อมั่น
  • หลักการทางห้องปฏิบัติการ
  • ขีดจำกัดในการแปลผล และปัญหาที่พบได้บ่อย
  • Early amniocentesis และ amnifiltration
  • การทำในกรณีครรภ์แฝด
  • หลักการทางห้องปฏิบัติการเกี่ยวกับการตรวจโครโมโซม (cytogenetics)
  • หลักการทางห้องปฏิบัติการเกี่ยวกับการวิเคราะห์ดีเอ็นเอจากเซลล์น้ำคร่ำ
  • สามารถให้คำปรึกษาแก่คู่สมรสได้อย่างถูกต้อง
  • สามารถปฏิบัติได้อย่างถูกต้องหลักการ

2.2 การตัดชิ้นเนื้อรก (chorionic villus sampling)

มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับ

  • หลักการ หรือเทคนิค
  • ข้อบ่งชี้
  • ความเสี่ยง และภาวะแทรกซ้อน
  • การแปลผลและความเชื่อมั่น
  • หลักการทางห้องปฏิบัติการ
  • ขีดจำกัดในการแปลผล และปัญหาที่พบได้บ่อย
  • ประเภทของการทำ (transabdominal / transcervical sampling)
  • หลักการทางห้องปฏิบัติการเกี่ยวกับการตรวจโครโมโซม (cytogenetics)
  • หลักการทางห้องปฏิบัติการเกี่ยวกับการวิเคราะห์ดีเอ็นเอจากเซลล์วิลไล
  • สามารถให้คำปรึกษาแก่คู่สมรสได้อย่างถูกต้อง
  • สามารถปฏิบัติได้อย่างถูกต้องหลักการ และแยกเนื้อรกจากเนื้อเยื่อของมารดาได้

2.3 การเจาะเลือดจากสายสะดือทารก (cordocentesis)

มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับ

  • หลักการ หรือเทคนิค
  • ข้อบ่งชี้
  • ความเสี่ยง และภาวะแทรกซ้อน
  • การแปลผลและความเชื่อมั่น
  • หลักการทางห้องปฏิบัติการ
  • ขีดจำกัดในการแปลผล และปัญหาที่พบได้บ่อย
  • หลักการทางห้องปฏิบัติการเกี่ยวกับการตรวจโครโมโซม และการวิเคราะห์โรคบางอย่างที่พบบ่อย เช่น ธาลัสซีเมีย
  • สามารถให้คำปรึกษาแก่คู่สมรสได้อย่างถูกต้อง
  • สามารถปฏิบัติได้อย่างถูกต้องหลักการ โดยผ่านการฝึกอบรมอย่างเป็นขั้นตอน

2.4 เทคนิค Coelocentesis

มีความรู้ความเข้าใจในเทคนิคและหลักการทางอณูพันธุศาสตร์ เช่น FISH, PCR

2.5 การตรวจด้วยกล้องส่องทารกและการตัดชิ้นเนื้อทารก (fetoscopy and tissue biopsy)

มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับ

  • หลักการ หรือเทคนิค
  • ข้อบ่งชี้
  • ความเสี่ยง และภาวะแทรกซ้อน
  • การแปลผลและความเชื่อมั่น
  • ขีดจำกัดในการแปลผล และปัญหาที่พบได้บ่อย

2.6 การส่องตรวจตัวอ่อนในครรภ์ (embryoscopy)
มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับ

  • หลักการ หรือเทคนิค
  • ข้อบ่งชี้
  • ความเสี่ยง และภาวะแทรกซ้อน
  • การแปลผลและความเชื่อมั่น
  • หลักการทางห้องปฏิบัติการ
  • ขีดจำกัดในการแปลผล และปัญหาที่พบได้บ่อ

4. ความรู้ทางห้องปฏิบัติการของการวินิจฉัยก่อนคลอด

  • ผู้ฝึกอบรมมีความรู้เป็นอย่างดีเกี่ยวกับการตรวจทางห้องปฏิบัติการที่สำคัญของการวินิจฉัยก่อนคลอด
    ผู้ฝึกอบรมสามารถอธิบายและแปลผลได้อย่างถูกต้องเกี่ยวกับ
  • การคัดกรองต่าง ๆ เช่น triple screen
  • MCV, DCIP, EOFT, HbE screen, Hb typing
  • HPLC
  • การเพาะเซลล์เพื่อวิเคราะห์โครโมโซม
  • การเลี้ยงเซลล์/ประสบการณ์การทำ PCR
  • การวิเคราะห์ดีเอ็นเอ

5. พยาธิวิทยาของทารก

ผู้ฝึกอบรมมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับพยาธิวิทยาของโรคต่าง ๆ ของทารกที่ทำการวินิจฉัยก่อนคลอด
ผู้ฝึกอบรมมีประสบการณ์ในการวินิจฉัยโรคทารกทางพยาธิวิทยา สามารถบรรยายความผิดปกติต่าง ๆ ของโรคที่พบได้บ่อย ๆ อย่างถูกต้อง

5. มีความรู้และทักษะสูงในการตรวจคลื่นเสียงความถี่สูงทางสูติศาสตร์

วัตถุประสงค์

ผู้ฝึกอบรมมีความรู้ก้าวหน้า และทักษะสูงในการตรวจคลื่นเสียงความถี่สูงทางสูติศาสตร์ ได้แก่

ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับคลื่นเสียงความถี่สูง

  • ฟิสิกซ์
  • ข้อบ่งชี้และขีดจำกัดในการประยุกต์ใช้
  • ความปลอดภัย
  • ความรู้ก้าวหน้าในเทคโนโลยีการสร้างภาพ
  • คลื่นเสียงความถี่สูงชนิดสามมิติ สี่มิติ และ MRI

การตรวจพื้นฐานทางสูติศาสตร์ (Basic Examination)

  • วินิจฉัยการตั้งครรภ์ ครรภ์เดี่ยว ครรภ์แฝด
  • รก สายสะดือ และน้ำคร่ำ
  • ตำแหน่งของรก รวมถึงการวินิจฉัยรกเกาะต่ำ
  • รกลอกตัวก่อนกำหนด
  • รูปร่างของรก (รูปร่างผิดปกติ เช่น circumvallate หรือการมีรกน้อย)
  • จำนวนเส้นเลือดในสายสะดือ
  • ก้อน/ถุงน้ำที่รกและสายสะดือ
  • ปริมาณน้ำคร่ำ น้ำคร่ำน้อย และครรภ์แฝดน้ำ
  • วัดสัดส่วนต่าง ๆ ของทารก
  • ประเมินอายุครรภ์
  • ประเมินการเจริญเติบโต
  • ตรวจกายวิภาคทารกปกติได้อย่างครบถ้วน (ขณะ 20 สัปดาห์)
  • รูปร่างศีรษะ
  • หน้า (ตา จมูก ริมฝีปาก เพดาน คาง)
  • สมอง (คอร์เทกซ์ ventricles สมองน้อย)
  • กระดูกสันหลัง (ทั้งสามระนาบ)
  • หัวใจ (4-chamber, aortic root, pulmonary trunk, ductus arterious, อัตราการเต้นและจังหวะ)
  • ท้อง (กระบังลม กระเพาะอาหาร ตับ เส้นเลือดดำสายสะดือ เส้นเลือดดำพอร์ตัล ถุงน้ำดี ไต
    กระเพาะปัสสาวะ ผนังหน้าท้อง และสะดือ)
  • เพศ
  • แขนขา (รูปร่าง ส่วนประกอบ และการเคลื่อนไหว)

การตรวจขั้นละเอียด (Targeted Ultrasound)

1. ระบบประสาทส่วนกลาง

1.1 ความผิดปกติของท่อประสาท

  • Acrania
  • Anencephaly
  • Cephaloceles
  • Spina bifida และ meningoceles

1.2 หัวบาตร (Ventriculomegaly/hydrocephalus)
1.3 Holoprosencephaly
1.4 Dandy-Walker Malformations
1.5 พยาธิสภาพการทำลายเนื้อสมอง

  • Hydranenecephaly
  • Porencephaly/Schizencephaly

1.6 Microcephaly/Macrocephaly
1.7 Agenesis of corpus callosum
1.8 อื่น ๆ เช่น หินปูนจับในสมอง กระดูกสันหลังคดและโก่ง เป็นต้น

2. ใบหน้าและคอ

2.1 ความผิดปกติของใบหน้า

  • ปากแหว่ง/เพดานโหว่
  • เบ้าตาถี่/ห่าง
  • ความผิดปกติของจมูก งวง (proboscis)
  • คางเล็ก
  • ก้อนที่หน้า เช่น cephalocele ส่วนหน้า

2.2 ก้อนที่คอ

  • Nuchal edema/translucency
  • Cystic hygroma
  • Cervical teratoma
  • ก้อนของธัยรอยด์/คอพอก

3. หัวใจ

3.1 ความผิดปกติในโครงสร้างของหัวใจ

  • Endocardial cushion (Atrioventricular) defect
  • Ventricular septal defect
  • Ebstein’s anomaly
  • Hypoplastic heart
  • Univentricular heart

3.2 ความผิดปกติในจังหวะการเต้นของหัวใจ (arrhythmia)

  • Premature atrial และ ventricular contractions
  • Tachycardia
  • Bradycardia

4. ท่อทางเดินปัสสาวะและท่อสืบพันธุ์

4.1 ไตฝ่อ (renal agenesis)
4.2 การอุดตันของทางเดินปัสสาวะ

  • กรวยไตโต/ท่อไตโต
  • Bladder outlet obstruction

4.3 ถุงน้ำที่ไต

  • Multicystic dysplastic kidneys
  • Infantile polycystic kidneys
  • Autosomal dominant polycystic kidneys
  • Obstructive renal dysplasia

4.4 ก้อนที่ต่อมหมวกไต
4.5 ความผิดปกติของท่อสืบพันธุ์ เช่น ถุงน้ำรังไข่

5. ท้องและทางเดินอาหาร

5.1 ทางเดินอาหารอุดตัน

  • หลอดอาหารตีบตัน
  • ดูโอดีนั่มตีบตัน
  • ลำไส้ใหญ่ตีบตัน
  • Meconium ileus และ peritonitis

5.2 ผนังหน้าท้องโหว่

  • Gastroschisis
  • Omphalocele
  • Pentalogy of Cantrell
  • Limb-body-wall complex
  • Bladder/cloacal extrosphy

5.3 น้ำและก้อนในช่องท้อง

6. ทรวงอก

6.1 ปอดแฟบ (pulmonary hypoplasia)
6.2 ก้อนในทรวงอก

  • ไส้เลื่อนกระบังลม
  • Congenital cystic adenomatoid malformations
  • Bronchial sequestration
  • ก้อนใน mediastinum (teratoma)

6.3 น้ำในทรวงอก (pleural effusion)

7. ระบบกระดูกโครงร่าง

7.1 กลุ่มแขนขาสั้นที่ไม่รอดชีวิต (lethal)

  • Thanatophoric dysplasia
  • Achondrogenesis
  • Osteogenesis imperfecta II
  • Hypophosphatasia
  • Short-rib polydactyly syndrome เป็นต้น

7.2 กลุ่มแขนขาสั้นที่รอดชีวิต (non-lethal)

  • Achondroplasia
  • Osteogenesis imperfecta type I, III, IV เป็นต้น

7.3 แขนขาขาดหาย (limb reduction defects)
7.4 ความผิดปกติของมือและเท้า

  • นิ้วทับเกยกัน
  • มือเท้าปุก
  • นิ้วโก่งเข้า (clinodactyly)
  • นิ้วเกิน/นิ้วขาด
  • ส้นเท้านูน (Rocker-bottom)

7.5 Caudal regression
7.6 Sacrococcygeal teratoma

8. ครรภ์แฝด

8.1 Twin-twin transfusion syndrome, Stuck twins
8.2 แฝดไม่มีหัวใจ (acardiac twins)
8.3 แฝดติดกัน (conjoined twins)

9. ทารกบวมน้ำจากสาเหตุต่าง ๆ

10. มาร์คเกอร์ของความผิดปกติทางโครโมโซม (Sonomarker)

10.1 Soft sign

  • choroid plexus cyst
  • mild ventriculomegaly
  • mild hydronephrosis
  • nuchal translucency / thickening
  • hyperechoic bowels
  • intracardiac echogenic foci
  • กระดูกต้นขา/แขนสั้น
  • ความผิดปกติของมือเท้า (ส้นนูน นิ้วเกิน เท้าปุก นิ้วทับกัน เป็นต้น)

10.2 ความผิดปกติรุนแรง (ดูโอดีนั่มตีบตัน endocardial cushion defect เป็นต้น)

6. มีความรู้และทักษะในการรักษาทารกในครรภ์ Top of Page

วัตถุประสงค์

ผู้ฝึกอบรมมีความรู้และสามารถอภิปรายถึงแนวทางในการรักษาทารกในครรภ์ รวมทั้งเทคนิคต่าง ๆ ที่กำลังพัฒนาหรือแนวโน้มในอนาคต และมีทักษะในการรักษาทารกในครรภ์ที่กระทำกันบ่อย ๆ

การรักษาที่ควรปฏิบัติได้

  1. การเจาะดูดน้ำคร่ำ (amniocentesis) : เช่น บางรายของภาวะครรภ์แฝดน้ำ หรือ twin-twin transfusion syndrome
  2. เติมน้ำคร่ำ (amnioinfusion) : เช่น รายที่มีน้ำคร่ำน้อยมากจากการอุดตันทางเดินปัสสาวะ หรือแก้ปัญหาการกดสายสะดือระยะคลอด เป็นต้น
  3. Intrauterine resussitation
  4. การดูดน้ำจากร่างกายหรือถุงน้ำในทารก เช่น ดูดน้ำจากทรวงอกในบางรายของ chylothorax หรือ ถุงน้ำรังไข่ที่มีขนาดใหญ่มาก
  5. การให้ยาแก่ทารกโดยอ้อม
    • ให้สเตียรอยด์เพื่อเร่งการเจริญของปอดทารก
    • ให้ indomethacin เพื่อรักษาภาวะครรภ์แฝดน้ำที่ไม่ทราบสาเหตุ
    • dexamethasone แก่มารดา เพื่อรักษา congenital adrenal hyperplasia
    • ให้กรดโฟลิคป้องกันภาวะท่อประสาทไม่ปิด
  6. Selective fetocide / Fetal reduction
    • ฉีดโปตัสเซียมคลอไรด์เพื่อทำลายแฝดผิดปกติ เพื่อลดความเสี่ยงของแฝดปกติ หรือลดจำนวนแฝดหลายตัว

การรักษาที่ควรรู้หรือคุ้นเคย

1. การให้สารบางอย่างแก่ทารกโดยตรง

  • การให้เลือดแก่ทารก (intraperitoneal / intravascular) เช่น รายเริ่มบวมน้ำจาก Rh isoimmunization
  • การให้อัลบิวมินแก่ทารก เช่น ในรายบวมน้ำโดยไม่ทราบสาเหตุ
  • การให้เกล็ดเลือด เช่น ในราย autoimmune thrombocytopenia
  • การให้ยาแก่ทารกโดยตรง
  • digoxin ในรายหัวใจล้มเหลวที่ไม่ทราบสาเหตุ
  • anti-arrhythmic ในรายหัวใจเต้นผิดจังหวะ

2. การใส่ท่อระบาย (shunt) ในทารกก่อนคลอด เช่น บางรายของภาวะ

  • น้ำในช่องปอด
  • ทางเดินปัสสาวะอุดตัน

3. การผ่าตัดทารกในครรภ์แบบเปิด

  • ไส้เลื่อนกระบังลม
  • sacrococcygeal teratoma
  • posterior urethral valve obstruction

4. การรักษา twin-twin transfusion syndrome

  • การใช้เลเซอร์ทำลายเส้นเลือดที่เชื่อมกัน
  • ฉีดไฟบรินเข้าไปในสายสะดือทารกที่เป็น acardiac twin
  • รัดสายสะดือทารก acardiac twin โดยผ่านกล้อง

5. การใส่ pacemaker ให้กับทารกที่มี complete heart block
6. การรักษาที่เป็นไปได้สูงในอนาคต

  • การปลูกถ่ายเซลล์ทารกในครรภ์ (stem cell transplantation)
  • การรักษาโดยการเปลี่ยนยีน (gene replacement therapy)
  • การผ่าตัดทารกในครรภ์โดยผ่านกล้องเล็ก ๆ
  • ฯลฯ

{/tabs}

Read More
Academic

MFM Academic Activity

MFM Activities

หนังสือ การควบคุมโรคธาลัสซีเมียชนิดรุนแรงด้วยวิธีก่อนคลอด

(ฉบับเรียบเรียงครั้งที่ 2 : ฉบับปรับปรุงใหม่)

เผยแพร่โดยภาควิชาสูติศาสตร์และนรีเวชวิทยา คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

คลิกดาวน์โหลดได้ที่นี่

เผยแพร่ 14 กุมภาพันธ์ 2561

Morning Conference

  • เป็นการประชุมวิชาการในลักษณะ variety เวลา 7.00 น.-8.00 น. ของทุกวันราชการ ประกอบด้วย slide หรือ VDO quiz สั้น ๆ ประมาณ 5-10 นาที state of the art tip ซึ่ง staff หรือ fellow หมุนเวียนมา update ความรู้ใหม่ ๆ ประมาณ 10-15 นาที และ case discussion / ultrasound review
  • Case discussion เป็นการนำเสนอรายงานผู้ป่วยที่น่าสนใจในวันที่ผ่านมาโดยทีมงานที่ให้การดูแลรักษาผู้ป่วย
    (เปรียบเสมือนข่าวรับอรุณ) มีผู้อภิปรายหลักและซักถามโดย staff และ fellow เน้นการตั้งครรภ์ที่มีปัญหาซับซ้อนเป็นหลัก

MFM Conference

  • เป็นการประชุมวิชาการของ subspecialty บริหารโดย staff และ fellow (อาจรวมถึงกุมารแพทย์ด้วย) นำเสนอ topic รวมทั้งผู้ป่วยที่น่าสนใจ เป้าหมายกระจายความรู้รวบยอดไปสู่แพทย์ประจำบ้านและคณาจารย์ใน subspecialty อื่น จัดให้มีการประชุมทุก 4 สัปดาห์ ผู้เข้าร่วมประชุมคือแพทย์ทั้งภาควิชา

Journal Club & Topic

  • เป็นการประชุมวิชาการที่บริหารหลักโดยแพทย์ประจำบ้าน ตามหลักสูตรการอบรมแพทย์ประจำบ้าน ทีมงานเวชศาสตร์มารดาและทารกจะเป็นที่ปรึกษาและอภิปรายในหัวข้อเรื่องที่เกี่ยวข้อง (ประมาณเดือนละ 2-4 ครั้ง)
    ผู้เข้าร่วมประชุมคือแพทย์ทั้งภาควิชา

State of the art review

  • ทบทวนและนำเสนอการศึกษาสำคัญใหม่ ๆ ทางเวชศาสตร์มารดาและทารก เป็นการประชุมในหน่วยเวชศาสตร์มารดาและทารกทุก 4 สัปดาห์ นำเสนอโดย fellow

Lecture on Topic of Interest

  • เลคเชอร์ย่อยภายในหน่วย เน้นหัวข้อที่น่าสนใจในแนวลึกตามหลักสูตรการฝึกอบรมโดยอาจารย์ในหน่วยเวชศาสตร์มารดา และทารก หมุนเวียนกันไป ทุก 4 สัปดาห์
  • เลคเชอร์รวมของภาควิชา เน้นหัวข้อน่าสนใจที่เหมาะกับสูติแพทย์ทุกท่าน เลคเชอร์โดยอาจารย์ในหน่วยเวชศาสตร์มารดาและทารก ประมาณปีละ 4 ครั้ง

Resources

  • ตำราที่เรียบเรียงจากหน่วยเวชศาสตร์มารดาและทารก
    • การตรวจสุขภาพทารกในครรภ์
    • คลื่นเสียงความถี่สูงทางสูติศาสตร์
    • คลื่นเสียงความถี่สูงทางนรีเวช
    • ภาวะแทรกซ้อนทางอายุรศาสตร์ในสตรีตั้งครรภ์
    • Electronic book of fetal anomaly
  • ตำราเวชศาสตร์มารดาและทารกจากราชวิทยาลัยสูตินรีแพทย์แห่งประเทศไทย
  • ตำรามาตรฐานต่างประเทศด้านเวชศาสตร์มารดาและทารก
  • วารสารต่างประเทศที่มีในห้องสมุด (รวมทั้ง online journal)
  • American Journal Obstetrics and Gynecology
  • Prenatal Diagnosis
  • Ultrasound in Obstetrics and Gynecology
  • Cochrane Systematic Review
  • E-journal
  • ฯลฯ
Read More

MFM Training

Training Levels

Residency Training

แพทย์ประจำบ้านนอกเหนือจากการเลคเชอร์ตามหัวข้อการฝึกอบรมด้านเวชศาสตร์มารดาและทารก ตามที่ราชวิทยาลัยสูติศาสตร์และนรีแพทย์แห่งประเทศไทยได้กำหนดไว้ จะต้องผ่านการฝึกอบรมพิเศษด้านเวชศาสตร์มารดาและ
ทารกอย่างน้อย 1 เดือน โดยเน้นการฝึกอัลตราซาวด์ การแปลผล fetal surveillance การดูแลครรภ์เสี่ยงสูง และการวินิจฉัยก่อนคลอด

Fellowship Training

  • หน่วยเวชศาสตร์มารดาและทารกได้รับการรับรองให้ฝึกอบรมการศึกษาต่อยอดจากราชวิทยาลัยสูติศาสตร์และนรีแพทย์แห่งประเทศไทย โดยสามารถรับฝึกอบรมได้ปีละ 1-2 คน
  • หลักสูตร คือ
    • ชื่อหลักสูตรภาษาไทย : หลักสูตรการฝึกอบรมต่อยอดอนุสาขาเวชศาสตร์มารดาและทารก
    • ชื่อหลักสูตรภาษาอังกฤษ : Curriculum for Subspecialty Training in Maternal-Fetal Medicine
    • ชื่อวุฒิภาษาไทย : ประกาศนียบัตรแสดงความรู้ความชำนาญในการประกอบวิชาชีพเวชกรรม อนุสาขาเวชศาสตร์มารดาและทารก
    • ชื่อย่อวุฒิภาษาไทย : ว.ว. (สูติ-นรีเวช), เวชศาสตร์มารดาและทารก
    • ชื่อวุฒิภาษาอังกฤษ : Certificate of Thai Board of Subspecialty in Maternal-Fetal Medicine
    • ชื่อย่อวุฒิภาษาอังกฤษ : Dip Thai Board Obstet & Gynecol, Cert. Maternal-Fetal Medicine
    • เวลาของการฝึกอบรม การฝึกอบรมจะใช้เวลา 2 ปี
    • เวลาเริ่มต้นการฝึกอบรมในแต่ละปี 1 มิถุนายน
    • ผู้ที่ผ่านการฝึกอบรม ได้รับการประเมินให้ผ่านโดยสถาบัน และการสอบตามเกณฑ์ของราชวิทยาลัย สูตินรีแพทย์ แห่งประเทศไทย จะได้รับประกาศนียบัตรแสดงความรู้ความชำนาญในการประกอบวิชาชีพเวชกรรม อนุสาขาเวชศาสตร์มารดาและทารก
  • การรับสมัครและคัดเลือกผู้เข้าฝึกอบรมต่อยอดสาขาเวชศาสตร์มารดาและทารก เวลาหมดเขตสมัครในแต่ละปี 31 มีนาคม
    • การยื่นสมัครเข้าฝึกอบรม กรอกแบบฟอร์มการสมัครและยื่นตรงต่อราชวิทยาลัยสูตินรีแพทย์แห่งประเทศไทย
    • การสัมภาษณ์ผู้ยื่นสมัครเข้ารับการฝึกอบรม สัมภาษณ์และกำหนดวันเวลาโดยสถาบันฝึกอบรม
    • คุณสมบัติของผู้รับการฝึกอบรม ต้องประกอบด้วยคุณสมบัติดังต่อไปนี้
      • ผู้ที่ได้รับวุฒิบัตรหรืออนุมัติบัตรแสดงความรู้ความชำนาญในการประกอบวิชาชีพเวชกรรม สาขาสูติศาสตร์นรีเวชวิทยาจากแพทยสภา
      • ผู้ที่จบการศึกษาและฝึกอบรมจากสถาบันต่างประเทศที่เทียบเท่าคุณสมบัติในข้อ 1
      • โดยความเห็นชอบของราชวิทยาลัยสูตินรีแพทย์แห่งประเทศไทย
      • ไม่มีประวัติเสื่อมเสียในด้านจริยธรรม

โปรแกรมการฝึกอบรม (Fellowship)

แต่ละสถาบันฝึกอบรมจะต้องจัดระบบการบริหารเวลาอย่างเหมาะสม โดยมีตารางโปรแกรมการปฏิบัติงานที่ชัดเจน ซึ่งแต่ละสถาบันอาจปรับเปลี่ยน เวลาและปริมาณให้เข้าสภาพการปฏิบัติงานของแต่ละสถาบัน ตารางเวลาการปฏิบัติงานควรครอบคลุมหัวข้อหลักดังต่อไปนี้

1. การปฏิบัติงานด้านคลินิก

  • บริการผู้ป่วยนอกในคลินิกครรภ์เสี่ยงสูง หรือคลินิกที่สัมพันธ์กับเวชศาสตร์มารดาและทารก
  • บริการผู้ป่วยใน ในหอผู้ป่วยครรภ์เสี่ยงสูง รวมทั้งห้องคลอดครรภ์เสี่ยงสูง
  • บริการงานของสาขาต่อยอดในหน่วยเวชศาสตร์มารดาและทารก
  • งานบริการด้านคลื่นเสียงความถี่สูงทางสูติศาสตร์ รวมถึงคลื่นเสียงดอพเลอร์
  • การตรวจสุขภาพทารกในครรภ์ (NST, AST, CST, BPP, Doppler)
  • หัตถการรุกล้ำร่างกาย : เจาะน้ำคร่ำ (ปีที่หนึ่ง), ตัดชิ้นเนื้อรก และเจาะเลือดสายสะดือ, เทคนิครักษาทารกในครรภ์อื่น ๆ (ปีที่สอง)
  • รับปรึกษาเมื่อมีผู้ป่วย (on call) กรณีผู้ป่วยมีปัญหาซับซ้อน

2. การปฏิบัติงานทางห้องปฏิบัติการ (ปีละ 1 เดือน)

  • ปฏิบัติงานในห้องปฏิบัติการเซลล์พันธุศาสตร์
  • ปฏิบัติงานห้องปฏิบัติการที่เกี่ยวข้อง (พันธุกรรมระดับโมเลกุล, HPLC, screening lab ฯลฯ)

3. การหมุนเวียนปฏิบัติงานนอกภาควิชาสูติศาสตร์

  • ห้องทารกแรกเกิด (1 เดือน)
  • ภาควิชาวิสัญญีวิทยา (1 เดือน)
  • ภาควิชาพยาธิวิทยา (1 เดือน)

4. งานกิจกรรมการเรียนการสอน

  • วารสารสโมสรทางเวชศาสตร์มารดาและทารก (เดือนละ 1 ครั้ง)
  • ประชุมวิชาการเวชศาสตร์มารดาและทารก (เดือนละ 1 ครั้ง)
  • รายงานผู้ป่วย (คลื่นเสียงความถี่สูง, ครรภ์ที่มีปัญหาซับซ้อน) (สัปดาห์ละ 1 ครั้ง)
  • วารสารสโมสร, หัวข้อทบทวนวิชาการ ของภาควิชา (ส่วนที่เกี่ยวข้อง)
  • ร่วมฟังบรรยายทางวิชาการ (อย่างน้อยเดือนละ 1 ครั้ง) หัวข้อการบรรยายที่สำคัญอาจมีดังต่อไปนี้ (ปรับได้ตามความเหมาะสม )
    • การให้คำปรึกษาทางพันธุกรรม
    • เซลล์พันธุศาสตร์
    • พันธุศาสตร์ระดับโมเลกุล
    • การคัดกรองและวินิจฉัยก่อนคลอดความผิดปกติของโครโมโซม
    • การคัดกรองและวินิจฉัยก่อนคลอดโรคธาลัสซีเมีย
    • โรคและพยาธิวิทยาของทารก
    • การตรวจคลื่นเสียงความถี่สูงขั้นละเอียดในการคัดกรองความพิการโดยกำเนิดของระบบประสาท หัวใจ ทางเดินอาหาร ท่อทางเดินปัสสาวะ โครงร่าง แขนขา
    • คลื่นเสียงความถี่สูงของหัวใจทารกในครรภ์
    • ดอพเลอร์ในทางสูติศาสตร์
    • ทารกบวมน้ำ
    • ทารกที่มีความผิดปกติของโครโมโซม
    • การติดเชื้อของทารกในครรภ์
    • กลุ่มอาการสำคัญของทารกในครรภ์
    • ทารกโตช้าในครรภ์
    • การรักษาทารกในครรภ์
    • การติดเชื้อเอชไอวีในสตรีตั้งครรภ์
    • การตรวจสุขภาพทารกก่อนระยะคลอด
    • การตรวจสุขภาพทารกในระยะคลอด
    • การใช้ยาในสตรีตั้งครรภ์
    • โรคแทรกซ้อนทางอายุกรรมในสตรีตั้งครรภ์ที่สำคัญ เช่น เบาหวาน โรคหัวใจ โรคไต

5. การหมุนเวียนต่างภาควิชา

  • วิสัญญีวิทยา (1 เดือน)
  • กุมารเวชศาสตร์ทารกแรกเกิด (1 เดือน)
  • พยาธิวิทยา (1 เดือน)

6. การวิจัย

  • เลือกทำวิจัย 1 เรื่องที่เกี่ยวข้องกับเวชศาสตร์มารดาและทารก
  • นำเสนอโครงร่างวิจัยภายใน 6 เดือนแรกของการฝึกอบรม
  • ทำวิจัย พร้อมรายงานความคืบหน้าเป็นระยะในการประชุมทางวิชาการของหน่วย
  • ให้ความร่วมมือช่วยเหลืองานวิจัยอื่น ๆ ในหน่วยตามความเหมาะสม

การประเมินผล

ผู้ที่ได้รับการฝึกอบรมแพทย์เฉพาะทางต่อยอดสาขาเวชศาสตร์มารดาและทารกครบตามหลักสูตรแล้ว และผ่านการประเมินผลจากสถาบันฝึกอบรม จะมีสิทธิ์สมัครสอบเพื่อประกาศนียบัตรสาขาเวชศาสตร์มารดาและทารก ตามที่กำหนดโดยราชวิทยาลัยสูตินรีแพทย ์แห่งประเทศไทย

1. การประเมินเพื่อปรับปรุง (formative evaluation)

เป็นการประเมินในระหว่างการฝึกอบรมซึ่งประเมินผลอย่างเป็นทางการโดยคณาจารย์ ประจำหน่วยของแต่ละสถาบัน และรับรองโดยหัวหน้าสถาบัน ซึ่งประเมินทั้ง

  • ด้านปัญญาวิสัย (cognitive domain) คือการประเมินด้านความรู้ ความสามารถในการใช้วิจารณญาณเพื่อการแก้ปัญหา โดยประเมินจากการเฝ้าสังเกตพัฒนาการการเรียนรู้ การดูแลรักษา การปฏิบัติหน้าที่จากสถานการณ์จริง การแสดงออกในการแก ้ปัญหา แนวคิด การวิเคราะห์ข้อมูล การมีส่วนร่วมในกิจกรรมทางวิชาการต่าง ๆ
  • ด้านจลนพิสัย (psychomotor domain) คือการประเมินด้าน ทักษะในการบริบาลผู้ป่วย ทักษะในการทำหัตถการ ทักษะในการสื่อสาร ทักษะในการให้คำปรึกษา ทักษะในการถ่ายทอดความรู้หรือข้อแนะนำ โดยประเมินจากการเฝ้าสังเกตจากการปฏิบัติหน้าที่ในสถานการณ์จริง เน้นทักษะและขั้นตอนการปฏิบัติ รวมทั้งการประเมินจากสมุดบันทึกการปฏิบัติงาน (log book)
  • ด้านเจตคติพิสัย (affective domain) เป็นการประเมินด้านจริยธรรม และมารยาทแห่งการประกอบวิชาชีพ วัดจากการเฝ้าสังเกตพฤติกรรม เช่น ความซื่อสัตย์สุจริต ความรับผิดชอบ การตรงต่อเวลา การมีมนุษยสัมพันธ์ที่ดีต่อผู้ป่วย ผู้เกี่ยวข้อง และเพื่อนร่วมงาน การควบคุมอารมณ์ได้ การมีน้ำใจ การปฏิบัติตามกฏหมายว่าด้วยสิทธิของผู้ป่วย เป็นต้น ในกรณีที่ผู้รับการฝึกอบรมไม่สามารถ ปฏิบัติตามแนวทางที่กำหนดไว้ ขาดความรับผิดชอบ ขาดจริยธรรม ผู้ฝึกอบรมอาจอาจพิจารณายุติการฝึกอบรมได้

สถาบันฝึกอบรมจะต้องทำหน้าที่ประเมินทั้งสามกรณีข้างต้น แล้วสรุปว่าผ่าน จึงมีสิทธิ์สมัครสอบส่วนกลาง
เมื่อสิ้นสุดการฝึกอบรม

2. การประเมินผลเมื่อสิ้นสุดการฝึกอบรม (summative evaluation)

ประเมินโดยคณะกรรมการส่วนกลางจากราชวิทยาลัยสูตินรีแพทย์แห่งประเทศไทย โดยประเมินผลการวิจัย การสอบข้อเขียน และการสอบสัมภาษณ์ การสอบผ่าน หมายถึงการสอบผ่านทั้งสามกรณีต่อไปนี้ (ถ้าไม่ผ่านให้สอบใหม่เฉพาะส่วนที่ไม่ผ่านในโอกาสต่อไป)

  • การตรวจวิจัยฉบับสมบูรณ์ ดังเกณฑ์ที่ได้กล่าวไว้ในส่วนการประเมินผลวิจัยของราชวิทยาลัยสูตินรีแพทย์แห่งประเทศไทย
  • สอบข้อเขียน ทำการสอบเฉพาะประเภท multiple choices question (MCQ) ซึ่งออกข้อสอบโดยคณะกรรมการส่วนกลางจำนวน 150 ข้อ (ข้อสอบที่สอดคล้องกับเนื้อหาวิชาของหลักสูตร) ต้องสอบผ่านเกินร้อยละ 60 จึงถือว่าสอบผ่าน
  • การสอบปากเปล่า สอบโดยคณะกรรมการส่วนกลาง

Course Contents (Fellowship)

1. มีความรู้ก้าวหน้าทางเวชศาสตร์มารดาและทารก

วัตถุประสงค์:

ผู้ฝึกอบรมมีความเข้าใจอย่างดีและสามารถอภิปรายได้ดีถึงความรู้ก้าวหน้าทางวิทยาศาสตร์พื้นฐานของการตั้งครรภ์ทั้งในแนวกว้างและแนวลึกในหัวข้อดังต่อไปนี้

วิทยาศาสตร์พื้นฐานของตั้งครรภ์

1. เอ็นโดครีนวิทยาของการตั้งครรภ์

  • โครงสร้าง การสังเคราะห์ และการควบคุมการทำงานของฮัยโปธาลามัส ต่อมใต้สมอง ต่อมธัยรอยด์ ต่อมพาราธัยรอยด์ ต่อมหมวกไต ตับอ่อน รังไข่ และรก
  • การทำงาน เมตะบอลิซึม ของฮอร์โมนสำคัญต่าง ๆ เช่น เอสโตรเจน แอนโดรเจน คอร์ติซอล ธัยรอยด์ฮอร์โมน ฮอร์โมนจากรก
  • Paracrine hormone ต่าง ๆ เช่น พรอสตาแกลนดินส์ insulin-like growth factors, inhibin เป็นต้น
  • Cytokines ต่าง ๆ เช่น interleukin เป็นต้น

2. สรีรวิทยาของการตั้งครรภ์และการคลอด

  • การปรับตัวของระบบต่าง ๆ ขณะตั้งครรภ์
  • ระบบหัวใจและหลอดเลือด
  • ระบบโลหิตวิทยา
  • ระบบทางเดินหายใจ
  • ระบบทางเดินปัสสาวะและระบบสืบพันธุ์
  • ระบบทางเดินอาหาร
  • การเปลี่ยนแปลงอื่น ๆ เช่น โภชนาการ อีเลคโตรไลท์ สภาพจิตใจและอารมณ์
  • สรีรวิทยาของการเจ็บครรภ์คลอด : ระดับโมเลกุล และความสัมพันธ์ทางคลินิก

3. คัพภะวิทยาและสรีรวิทยาของทารกในครรภ์

  • พัฒนาการของทารกในครรภ์ตั้งแต่ gametogenesis
  • การทำงานของโครงสร้างต่าง ๆ ของทารกในครรภ์ (ระบบเอ็นโดครีน หัวใจและหลอดเลือด การดิ้น โลหิตวิทยา ทางเดินอาหาร ทางเดินปัสสาวะ ระบบอิมมูน เป็นต้น)
  • กลไกการตอบสนองต่อภาวะขาดออกซิเจน

4. การก่อลูกวิรูป (teratology)

  • ความรู้ก้าวหน้าเกี่ยวกับปัจจัยแวดล้อมต่าง ๆ ต่อการเกิดความพิการของทารก
  • สารก่อลูกวิรูปที่สำคัญ เช่น ไวรัสต่าง ๆ แอลกอฮอล์ โคเคน เป็นต้น

5. สรีรวิทยาของรก

  • พัฒนาการและการทำงานของรก รวมทั้งการขนย้ายสารผ่านรก การแลกเปลี่ยนสารต่าง ๆ
  • การทดสอบการทำงานของรก : เช่น Doppler velocimetry
  • การสร้างและหลั่งสารต่าง ๆ ของรก

7. ชีวเคมี และเภสัชวิทยาที่สัมพันธ์กับการตั้งครรภ์

  • เมตาบอลิซึมของยาหรือสารต่าง ๆ ที่ผ่านรก และผลต่อทารก
  • ยาหรือสารต่าง ๆ ที่มีผลก่อลูกวิรูป
  • ยาและการหลั่งน้ำนม
  • ปฏิกริยาระหว่างยาต่าง ๆ

8. พยาธิวิทยาที่สัมพันธ์กับทารกและการตั้งครรภ์

  • พยาธิวิทยาของทารก (การชัณสูตรศพ ความพิการโดยกำเนิดที่สำคัญ การแท้ง เป็นต้น)
  • พยาธิวิทยาของรก (รูปร่างและขนาดที่ผิดปกติ ก้อนเนื้องอก การเกาะของสายสะดือผิดที่ เป็นต้น)

9. พันธุศาสตร์

  • การถ่ายทอดทางพันธุกรรมในรูปแบบต่าง ๆ
  • โรคสำคัญทางพันธุกรรม เช่น ธาลัสซีเมีย ฮีโมฟิลเลีย เปลือกต่อมหมวกไตหนา เป็นต้น
  • Cytogenetics
  • ความผิดปกติทางโครโมโซมที่สำคัญ ได้แก่ trisomy 13, 18, 21, triploidy, 45X เป็นต้น
  • พันธุศาสตร์ชีวโมเลกุล (องค์ประกอบและการทำงานของยีนส์ PCR มิวเตชั่น วิธีการตรวจหามิวเตชั่นต่าง ๆ วิธีเรียงลำดับเบส เป็นต้น)
  • การให้คำปรึกษาทางพันธุกรรม

10. อิมมูโนวิทยาที่สัมพันธ์กับการตั้งครรภ์

  • หลักพื้นฐานในการตอบสนองทางภูมิคุ้มกัน
  • ต้นกำเนิดและการทำงานของอิมมูโนกลอบบูลินต่าง ๆ และ T,B lymphocytes
  • ระบบ HLA
  • Monoclonal antibodies
  • ทารกในฐานะ graft
  • การประยุกต์ความรู้ในทางคลินิก เช่น Rh isoimmunization หรือโรคออโตอิมมูน เป็นต้น

ศาสตร์ที่เกี่ยวข้อง

1. วิสัญญีวิทยา

  • การออกฤทธิ์และจลน์ศาสตร์ของยาทางวิสัญญีวิทยา : ยาดมสลบ ยาชาเฉพาะที่ ยาระงับปวด
  • ภาวะแทรกซ้อนที่สำคัญ : หัวใจหยุดเต้น การหยุดหายใจ ปฏิกริยาจากยา การสูดสำลัก
  • การดูแลและติดตามผู้ป่วยที่ไม่รู้สึกตัว ผู้ป่วยหนัก

2. ทารกแรกคลอด

  • สรีรวิทยาของรกแรกคลอด
  • การช่วยชีวิตทารกแรกคลอด
  • ปัญหาที่พบบ่อยในทารกแรกคลอด : ภาวะกดการหายใจ เหลือง ติดเชื้อ ชัก น้ำตาลต่ำ แคลเซียมต่ำ อุณหภูมิต่ำ เลือดออกในสมอง โตช้า ปัญหาที่สัมพันธ์กับการคลอดก่อนกำหนด
  • ภาวะพิการโดยกำเนิดที่สำคัญ เช่น กลุ่มอาการดาวน์ เป็นต้น

3. การวิจัยและชีวสถิติ

  • วิธีการวิจัย การให้เหตุผลทางวิทยาศาสตร์
    • การอ่านวารสารทางคลินิก (ธรรมชาติการดำเนินโรค พยากรณ์ สาเหตุ การวินิจฉัย การรักษา)
    • การอ่านบทความทบทวนทางวิชาการ
  • วิธีการของกาวิจัย การเขียนโครงร่าง
    • การสร้างคำถามวิจัยและเรียงลำดับ
    • ชนิดของการวิจัย : (descriptive, diagnostic, etiologic, intervention, systemic review)
    • อคติในการทำวิจัย
    • จริยธรรมในการวิจัย
    • การบริหารโครงการ
    • การตีพิมพ์บทความทางวิทยาศาสตร์ในวารสาร
  • การวัดต่าง ๆ (measurement)
    • ความเชื่อถือและความสมเหตุผล
    • เครื่องมือและการวัดในทางคลินิก, การออกแบบสอบถาม, การเฝ้าสังเกต เทคนิคการสัมภาษณ์
    • คอมพิวเตอร์
    • การใช้คอมพิวเตอร์ในการสื่อสาร ไมโครซอฟต์ การบริหารเอกสารอ้างอิง นำเสนอเนื้อหาและกราฟฟิค
  • เศรษฐศาสตร์เชิงคลินิก
    • ภาพรวม และการวิเคราะห์
  • วิทยาศาสตร์สุขภาพเชิงสังคม (health social science)
    • การตรวจวัดสุขภาพและคุณภาพชีวิต การอภิปรายกลุ่มจำเพาะ การสัมภาษณ์ในรายละเอียด
  • ชีวสถิติ (biostatisitcs)
    • ภาพรวม
    • สถิติสำหรับการประเมินทางคลินิก
    • การรวบรวมข้อมูลและนำเสนอ โอกาสและการกระจาย การกำหนดความเสี่ยง
    • ประชากรและการเลือกกลุ่มตัวอย่าง, การคำนวณขนาดตัวอย่าง
    • การวิเคราะห์แบบต่าง ๆ (analysis of categorial data, survival analysis, nonparametric test, correlation & regression, analysis of variance, meta-analysis)

2. มีความรู้และทักษะสูงในการบริบาลครรภ์เสี่ยงสูง Top of Page

วัตถุประสงค์

1. ผู้ฝึกอบรมสามารถที่จะอภิปรายถึงภาวะแทรกซ้อนทางอายุรศาสตร์ ศัลยศาสตร์ และสูติศาสตร์ในสตรีตั้งครรภ์ที่พบได้บ่อย ในหลายแง่มุม

  • ระบาดวิทยา
  • สาเหตุ / ปัจจัยส่งเสริม
  • พยาธิสรีรวิทยา
  • ผลของการตั้งครรภ์ต่อโรค
  • ผลของโรคต่อการตั้งครรภ์
  • อาการและอาการแสดงทางคลินิก
  • การวินิจฉัยและการวินิจฉัยแยกโรค
  • การตรวจค้นเพื่อการวินิจฉัย
  • การดูแลรักษา
  • พยากรณ์โรคและการติดตาม

2. ผู้ฝึกอบรมสามารถให้การวินิจฉัยและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางอายุรศาสตร์ ศัลยศาสตร์ และสูติศาสตร์ที่พบได้บ่อย ๆ ในสตรีตั้งครรภ์

ภาวะแทรกซ้อนทางอายุรศาสตร์

1. ความดันโลหิตสูง
2. เบาหวาน
3. ความผิดปกติทางเอ็นโดครีนอื่น ๆ เช่น โรคต่อมธัยรอยด์ พาราธัยรอยด์ ต่อมใต้สมอง ต่อมหมวกไต
4. ความผิดปกติทางโลหิตวิทยา เช่น โลหิตจาง การแข็งตัวของเลือดผิดปกติ เกล็ดเลือดต่ำ เป็นต้น
5. โรคหัวใจและหลอดเลือด เช่น

  • โรคหัวใจรูห์มาติค
  • หัวใจพิการโดยกำเนิด
  • Infective endocarditis
  • กล้ามเนื้อหัวใจผิดปกติ
  • หัวใจเต้นผิดจังหวะ
  • การปลูกถ่ายเปลี่ยนหัวใจ

6. โรคไต

  • การติดเชื้อทางเดินปัสสาวะ
  • นิ่วในไต
  • acute glomerulonephritis
  • nephrotic syndrome
  • tubular and cortical necrosis
  • ไตล้มเหลว
  • ไตเทียม

7. โรคระบบทางเดินอาหาร เช่น แพ้ท้องรุนแรง ทางเดินอาหารอุดตัน ตับอ่อนอักเสบ ไส้ติ่งอักเสบ ถุงน้ำดีอักเสบ แผลในกระเพาะและลำไส้ เป็นต้น
8. โรคตับ

  • ตับอักเสบ
  • Cholestasis
  • fatty liver
  • ตับแข็ง และอื่น ๆ

9. โรคของปอด

  • หืด
  • วัณโรค
  • การติดเชื้อทางเดินหายใจ
  • ARDS
  • Pulmonary embolism
  • Aspiration pneumonitis

10. โรคทางระบบประสาท

  • ลมชัก
  • Myasthenia gravis
  • Guillain-Barre syndrome
  • เนื้องอกในสมอง
  • Migraine
  • โรคหลอดเลือดในสมอง

11. โรคออโตอิมมูนและเนื้อเยื่อเกี่ยวพัน

  • SLE
  • Rheumatoid arthritis
  • Antiphospholipid antibodies

12. โรคมะเร็ง

  • มะเร็งระบบสืบพันธุ์ (มะเร็งปากมดลูก มะเร็งรังไข่ มะเร็งเนื้อรก)
  • มะเร็งเม็ดเลือดขาว
  • มะเร็งต่อมน้ำเหลือง
  • มะเร็งเต้านม เป็นต้น

13. โรคผิวหนัง

  • Herpes gestationis
  • impetigo herpetiformis
  • PUPPP

14. การใช้สารเสพย์ติด : แอลกอฮอล์ กาแฟ บุหรี่ ยาบ้า โคเคน เฮโรอีน บาร์บิทุเรท ยากล่อมประสาท เป็นต้น
15. โรคทางจิตเวชศาสตร์ เช่น ภาวะซึมเศร้า หรือโรคจิตหลังคลอด
16. โรคติดเชื้อ

  • การติดเชื้อแบคทีเรีย : Group A, B Streptococcus, Salmonella Mycoplasma, Listeriosis, Shigella, Haemophilus, Anaerobic bacteria เป็นต้น
  • การติดเชื้อไวรัส : Rubella, Parvovirus, Varicella-Zoster, Coxsackie, Cytomegalovirus, Hepatitis เป็นต้น
  • การติดเชื้อปรสิต เช่น มาเลเรีย Toxoplasmosis
  • การติดเชื้อรา เช่น Pneumocystis crinii, Cryptococcosis, Candidiasis,Coccidiomycosis เป็นต้น
  • โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ เช่น เอชไอวี ซิฟิลิส หนองใน คลามิเดีย แผลริมอ่อน เริม ทริโคโมแนส เป็นต้น

ภาวะแทรกซ้อนทางศัลยศาสตร์

1. การดูแลในภาวะวิกฤติและการบาดเจ็บ

  • การช่วยฟื้นคืนชีพ (CPR)
  • การให้เลือดและองค์ประกอบเลือด
  • การช่วยเหลือทางเดินหายใจ
  • บาดเจ็บต่าง ๆ (อุบัติเหตุรถยนต์ การกระแทก ถูกแทง เผาไหม้)

2. ภาวะ acute abdomen

  • ไส้ติ่งอักเสบเฉียบพลัน
  • ปีกมดลูกบิดขั้ว
  • ถุงน้ำรังไข่แตก
  • นิ่วในถุงน้ำดี ถุงน้ำดีอักเสบ
  • ลำไส้อุดตัน

3. ตกเลือด – เลือดออกในทางเดินอาหารส่วนบน / ส่วนล่าง

ภาวะแทรกซ้อนทางสูติศาสตร์

1. คลอดยาก (แรงเบ่งไม่ดี ทารกท่าผิดปกติ เชิงกรานแคบ)
2. ตกเลือด (แท้ง ครรภ์นอกมดลูก ครรภ์ไข่ปลาอุก รกเกาะต่ำ รกลอกตัวก่อนกำหนด มดลูกแตก มดลูกไม่แข็งตัว รกค้าง รกติด มดลูกปลิ้น ช่องทางคลอดฉีกขาด)
3. ความดันโลหิตสูง:

  • Pregnancy induced hypertension
  • Pregnancy aggravated hypertension
  • Transient hypertension

4. การคลอดก่อนกำหนด / น้ำเดินก่อนกำหนด
5. ครรภ์เกินกำหนด
6. ทารกโตช้าในครรภ์
7. ครรภ์แฝด
8. การสูญเสียทารกซ้ำ ๆ (recurrent pregnancy losses)
9. ทารกพิการโดยกำเนิด
10. โรคของรก สายสะดือ และเยื่อหุ้มเด็ก

  • เยื่อหุ้มเด็กอักเสบ
  • ครรภ์แฝดน้ำ
  • น้ำคร่ำน้อย
  • รกน้อย รกบาง circummarginate เป็นต้น
  • เนื้อรกตาย
  • ความผิดปกติของสายสะดือ : ปม บิด ตีบ ถุงน้ำ ก้อนเลือดคั่ง บวม เนื้องอก เส้นเลือดแดงสายสะดือเส้นเดียว เกาะผิดที่ (เช่น ที่ขอบรก เยื่อหุ้มเด็ก) vasa previa

3. มีความรู้และทักษะสูงในการประเมินสุขภาพทารกในครรภ์

วัตถุประสงค์

ผู้ฝึกอบรมมีความรู้ความเข้าใจในหลักการ ข้อดี ข้อเสีย และสามารถแปลผลการทดสอบสุขภาพทารกในครรภ์ด้วยเทคนิคต่าง ๆ ทั้งในระยะก่อนคลอดและ
ระยะคลอด

1. เทคนิคต่าง ๆ ในการประเมินสุขภาพทารกในครรภ์ในระยะก่อนคลอด

  • การนับเด็กดิ้น
  • Nonstress test / Acoustic stimulation test
  • Contraction stress test
  • Biophysical profile
  • Modified biophysical profile
  • Doppler velocimetry

2. เทคนิคการประเมินสุขภาพทารกในครรภ์ในระยะคลอด

  • Fetal heart rate monitoring (external/internal)
  • Acoustic stimulation test
  • Scalp blood pH

4. มีความรู้และทักษะสูงในการคัดกรองและวินิจฉัยก่อนคลอด Top of Page

วัตถุประสงค์

ผู้ฝึกอบรมมีความรู้ก้าวหน้าเกี่ยวกับวิทยาศาสตร์พื้นฐานของการวินิจฉัยก่อนคลอด สามารถคัดกรอง/วินิจฉัยโรคในทารกที่สำคัญได้อย่างมีประสิทธิภาพ ได้แก่

1. ความผิดปกติของโครโมโซมที่พบได้บ่อย
2. โรคธาลัสซีเมียชนิดร้ายแรง
3. ความผิดปกติทางโครงสร้าง
4. กลุ่มโรคจำเพาะที่ประวัติมีความเสี่ยง เช่น ฮีโมฟิลเลีย เปลือกต่อมหมวกไตหนา เป็นต้น

1. วิทยาศาสตร์พื้นฐานของการวินิจฉัยก่อนคลอด

  • ผู้ฝึกอบรมมีความรู้เกี่ยวกับ
    • พันธุศาสตร์
    • พัฒนาการ และ สรีรวิทยาของทารกในครรภ์
    • ความรู้เกี่ยวกับโรคของทารก
  • ผู้ฝึกอบรมสามารถอธิบายและแปลผลความผิดปกติเกี่ยวกับ
  • วิธีการถ่ายทอดทางพันธุกรรม
  • เทคนิคทางห้องปฏิบัติการเกี่ยวกับการตรวจโครโมโซม
  • การวิเคราะห์ดีเอ็นเอ
  • ความรู้เกี่ยวกับพัฒนาการของทารกในครรภ์
  • ความรู้เกี่ยวกับสรีรวิทยาของทารกในครรภ์
  • โรคความผิดปกติทางโครโมโซม โดยเฉพาะ trisomy 21, 18, 13 triploidy, XO เป็นต้น
  • โรคทางพันธุกรรม: โดยเฉพาะอย่างยิ่งธาลัสซีเมียชนิดร้ายแรง ฮีโมฟิลเลีย เป็นต้น
  • ภาวะความพิการโดยกำเนิดของระบบต่าง ๆ (ส่วนอัลตราซาวน์)

2. การคัดกรองค้นหาครรภ์ที่มีความเสี่ยง

  • ผู้ฝึกอบรมมีความรู้เกี่ยวกับการคัดกรองค้นหาการตั้งครรภ์ที่มีความเสี่ยงต่อโรคสำคัญ
  • ผู้ฝึกอบรมมีความสามารถในการคัดกรอง
    • คัดกรองความเสี่ยงต่อกลุ่มอาการดาวน์ โดย ประวัติและอายุ, MSAFP และ triple screen ประวัติในครอบครัว
      • อายุมารดา
      • MSAFP/Triple screen
      • มาร์กเกอร์ทางคลื่นเสียงความถี่สูง
    • คัดกรองความเสี่ยงต่อธาลัสซีเมียชนิดร้ายแรง (รวมทั้งแปลผลทางห้องปฏิบัติการ) Retrospective screening
      • Prospective screening
      • EOFT, MCV
      • DCIP, HbE screen
      • HbA2, PCR
    • การคัดกรองความผิดปกติทางโครงสร้าง
      • คลื่นเสียงความถี่สูงในรายมีความเสี่ยง
      • คลื่นเสียงความถี่สูงเป็นกิจวัตรขณะกึ่งการตั้งครรภ์
      • คัดกรองความพิการทางโครงสร้างด้วยอัลตราซาวน์ได้อย่างมีประสิทธิภาพ
      • คัดกรองโรคจำเพาะอื่น ๆ โดยอาศัยประวัติความเสี่ยง เช่น ฮีโมฟิลเลีย ต่อมหมวกไตหนาตัว Rh isoimmunization เป็นต้น

3. การให้คำปรึกษาการวินิจฉัยก่อนคลอด (Genetic Counseling)

  • ผู้ฝึกอบรมสามารถเข้าใจอย่างดีในหลักการ ความสำคัญ และวิธีการของการให้คำปรึกษาก่อนคลอด
  • ผู้ฝึกอบรมสามารถให้คำปรึกษาได้อย่างมีประสิทธิภาพในเรื่องของ
    • ข้อบ่งชี้ (รายที่มีความเสี่ยงต่อการมีทารกที่เป็นโรค)
    • รายละเอียดของโรคที่พบบ่อย ได้แก่ ความผิดปกติทางโครโมโซม ธาลัสซีเมีย เป็นต้น
    • แนวทางในการค้นหารายละเอียดของโรคทางพันธุกรรมที่พบไม่บ่อย
    • ขั้นตอนในการให้คำปรึกษา
    • การซักประวัติและการตรวจร่างกายอย่างละเอียด
    • การตรวจพิเศษทางห้องปฏิบัติการ
    • การบันทึกประวัติครอบครัวเป็นพงศาวลี
    • การประเมินแบบแผนการถ่ายทอด (AD, AR, X-linked, multifactorial)
    • ความผิดปกติทางโครโมโซม
    • การประเมินความเสี่ยงต่อการมีลูกที่เป็นโรค
    • การบอกแนวทางในการหลีกเลี่ยงการมีลูกที่เป็นโรค
    • ให้ความรู้เกี่ยวกับโรค
    • เทคนิคในการให้ข้อมูล

4. หลักการและเทคนิคในการวินิจฉัยก่อนคลอด

ผู้ฝึกอบรมมีความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการ วิธีการ ข้อบ่งชี้ ข้อดีข้อเสีย ภาวะแทรกซ้อน ของเทคนิคในการวินิจฉัยก่อนคลอดต่าง ๆ

ผู้ฝึกอบรมสามารถอภิปราย หรือมีทักษะในการทำการวินิจฉัยก่อนคลอดดังนี้

1. Non-invasive technique

1.1 การวินิจฉัยก่อนคลอดด้วยคลื่นเสียงความถี่สูง (วินิจฉัยความผิดปกติทางโครงสร้าง)

  • สามารถคัดกรองความพิการโดยกำเนิดทางโครงสร้างได้อย่างมีประสิทธิภาพ
  • สามารถตรวจวินิจฉัยความผิดปกติโดยกำเนิด (ระดับละเอียด)
  • สามารถตรวจค้นหามาร์กเกอร์ของความผิดปกติทางโครโมโซมได้ ทั้งในไตรมาสแรกและ
    ไตรมาสที่สอง

1.2 การตรวจสารในเลือดมารดา

  • มีความรู้และแปลผลการคัดกรองเกี่ยวกับมาร์กเกอร์ต่าง ๆ ในเลือดมารดา เช่น Rh titer, Rubella titer ตลอดจนสารเคมีต่าง ๆ เช่น alpha-fetoprotein, hCG เป็นต้น
  • การคัดกรองด้วย NTDs และกลุ่มอาการดาวน์ด้วย triple test
  • เข้าใจในการแปลผลกำหนดความเสี่ยงของทารกจากข้อมูลเช่น อายุ triple test
  • คัดกรองพาหะโรคทางพันธุกรรมจากเลือดคู่สมรส โดยเฉพาะพาหะต่อธาลัสซีเมียชนิดร้ายแรง

1.3 การวินิจฉัยทารกจากเซลล์ลูกในเลือดมารดา

การตรวจหาเซลล์ของลูกในเลือดแม่เพื่อการวินิจฉัยก่อนคลอด เข้าใจถึงวิธีการแยกเซลล์ลูกจากเลือดแม่ และหลักการทางห้องปฏิบัติการในการวิเคราะห์ดีเอ็นเอได้แก่

  • PCR
  • DNA sequencing
  • Southern blot เป็นต้น
  • ตรวจโครโมโซมลูก

1.4 การล้างบริเวณปากมดลูก (transcervical flushing)

เข้าใจ อธิบายถึงหลักการ

1.5 การวินิจฉัยก่อนการฝังตัว (Preimplantation)

เข้าใจ อธิบายถึงหลักการและให้คำปรึกษาแก่คู่สมรสที่มีปัญหาโรคทางพันธุกรรม ที่มีความเสี่ยงสูง หรือรายที่มีบุตรยาก ที่ต้องอาศัยเทคโนโลยีช่วยภาวะเจริญพันธุ์อยู่แล้ว

2. Invasive technique

2.1 การเจาะดูดน้ำคร่ำ (amniocentesis)

มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับ

  • หลักการ หรือเทคนิค
  • ข้อบ่งชี้
  • ความเสี่ยง และภาวะแทรกซ้อน
  • การแปลผลและความเชื่อมั่น
  • หลักการทางห้องปฏิบัติการ
  • ขีดจำกัดในการแปลผล และปัญหาที่พบได้บ่อย
  • Early amniocentesis และ amnifiltration
  • การทำในกรณีครรภ์แฝด
  • หลักการทางห้องปฏิบัติการเกี่ยวกับการตรวจโครโมโซม (cytogenetics)
  • หลักการทางห้องปฏิบัติการเกี่ยวกับการวิเคราะห์ดีเอ็นเอจากเซลล์น้ำคร่ำ
  • สามารถให้คำปรึกษาแก่คู่สมรสได้อย่างถูกต้อง
  • สามารถปฏิบัติได้อย่างถูกต้องหลักการ

2.2 การตัดชิ้นเนื้อรก (chorionic villus sampling)

มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับ

  • หลักการ หรือเทคนิค
  • ข้อบ่งชี้
  • ความเสี่ยง และภาวะแทรกซ้อน
  • การแปลผลและความเชื่อมั่น
  • หลักการทางห้องปฏิบัติการ
  • ขีดจำกัดในการแปลผล และปัญหาที่พบได้บ่อย
  • ประเภทของการทำ (transabdominal / transcervical sampling)
  • หลักการทางห้องปฏิบัติการเกี่ยวกับการตรวจโครโมโซม (cytogenetics)
  • หลักการทางห้องปฏิบัติการเกี่ยวกับการวิเคราะห์ดีเอ็นเอจากเซลล์วิลไล
  • สามารถให้คำปรึกษาแก่คู่สมรสได้อย่างถูกต้อง
  • สามารถปฏิบัติได้อย่างถูกต้องหลักการ และแยกเนื้อรกจากเนื้อเยื่อของมารดาได้

2.3 การเจาะเลือดจากสายสะดือทารก (cordocentesis)

มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับ

  • หลักการ หรือเทคนิค
  • ข้อบ่งชี้
  • ความเสี่ยง และภาวะแทรกซ้อน
  • การแปลผลและความเชื่อมั่น
  • หลักการทางห้องปฏิบัติการ
  • ขีดจำกัดในการแปลผล และปัญหาที่พบได้บ่อย
  • หลักการทางห้องปฏิบัติการเกี่ยวกับการตรวจโครโมโซม และการวิเคราะห์โรคบางอย่างที่พบบ่อย เช่น ธาลัสซีเมีย
  • สามารถให้คำปรึกษาแก่คู่สมรสได้อย่างถูกต้อง
  • สามารถปฏิบัติได้อย่างถูกต้องหลักการ โดยผ่านการฝึกอบรมอย่างเป็นขั้นตอน

2.4 เทคนิค Coelocentesis

มีความรู้ความเข้าใจในเทคนิคและหลักการทางอณูพันธุศาสตร์ เช่น FISH, PCR

2.5 การตรวจด้วยกล้องส่องทารกและการตัดชิ้นเนื้อทารก (fetoscopy and tissue biopsy)

มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับ

  • หลักการ หรือเทคนิค
  • ข้อบ่งชี้
  • ความเสี่ยง และภาวะแทรกซ้อน
  • การแปลผลและความเชื่อมั่น
  • ขีดจำกัดในการแปลผล และปัญหาที่พบได้บ่อย

2.6 การส่องตรวจตัวอ่อนในครรภ์ (embryoscopy)
มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับ

  • หลักการ หรือเทคนิค
  • ข้อบ่งชี้
  • ความเสี่ยง และภาวะแทรกซ้อน
  • การแปลผลและความเชื่อมั่น
  • หลักการทางห้องปฏิบัติการ
  • ขีดจำกัดในการแปลผล และปัญหาที่พบได้บ่อ

4. ความรู้ทางห้องปฏิบัติการของการวินิจฉัยก่อนคลอด

  • ผู้ฝึกอบรมมีความรู้เป็นอย่างดีเกี่ยวกับการตรวจทางห้องปฏิบัติการที่สำคัญของการวินิจฉัยก่อนคลอด
    ผู้ฝึกอบรมสามารถอธิบายและแปลผลได้อย่างถูกต้องเกี่ยวกับ
  • การคัดกรองต่าง ๆ เช่น triple screen
  • MCV, DCIP, EOFT, HbE screen, Hb typing
  • HPLC
  • การเพาะเซลล์เพื่อวิเคราะห์โครโมโซม
  • การเลี้ยงเซลล์/ประสบการณ์การทำ PCR
  • การวิเคราะห์ดีเอ็นเอ

5. พยาธิวิทยาของทารก

ผู้ฝึกอบรมมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับพยาธิวิทยาของโรคต่าง ๆ ของทารกที่ทำการวินิจฉัยก่อนคลอด
ผู้ฝึกอบรมมีประสบการณ์ในการวินิจฉัยโรคทารกทางพยาธิวิทยา สามารถบรรยายความผิดปกติต่าง ๆ ของโรคที่พบได้บ่อย ๆ อย่างถูกต้อง

5. มีความรู้และทักษะสูงในการตรวจคลื่นเสียงความถี่สูงทางสูติศาสตร์

วัตถุประสงค์

ผู้ฝึกอบรมมีความรู้ก้าวหน้า และทักษะสูงในการตรวจคลื่นเสียงความถี่สูงทางสูติศาสตร์ ได้แก่

ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับคลื่นเสียงความถี่สูง

  • ฟิสิกซ์
  • ข้อบ่งชี้และขีดจำกัดในการประยุกต์ใช้
  • ความปลอดภัย
  • ความรู้ก้าวหน้าในเทคโนโลยีการสร้างภาพ
  • คลื่นเสียงความถี่สูงชนิดสามมิติ สี่มิติ และ MRI

การตรวจพื้นฐานทางสูติศาสตร์ (Basic Examination)

  • วินิจฉัยการตั้งครรภ์ ครรภ์เดี่ยว ครรภ์แฝด
  • รก สายสะดือ และน้ำคร่ำ
  • ตำแหน่งของรก รวมถึงการวินิจฉัยรกเกาะต่ำ
  • รกลอกตัวก่อนกำหนด
  • รูปร่างของรก (รูปร่างผิดปกติ เช่น circumvallate หรือการมีรกน้อย)
  • จำนวนเส้นเลือดในสายสะดือ
  • ก้อน/ถุงน้ำที่รกและสายสะดือ
  • ปริมาณน้ำคร่ำ น้ำคร่ำน้อย และครรภ์แฝดน้ำ
  • วัดสัดส่วนต่าง ๆ ของทารก
  • ประเมินอายุครรภ์
  • ประเมินการเจริญเติบโต
  • ตรวจกายวิภาคทารกปกติได้อย่างครบถ้วน (ขณะ 20 สัปดาห์)
  • รูปร่างศีรษะ
  • หน้า (ตา จมูก ริมฝีปาก เพดาน คาง)
  • สมอง (คอร์เทกซ์ ventricles สมองน้อย)
  • กระดูกสันหลัง (ทั้งสามระนาบ)
  • หัวใจ (4-chamber, aortic root, pulmonary trunk, ductus arterious, อัตราการเต้นและจังหวะ)
  • ท้อง (กระบังลม กระเพาะอาหาร ตับ เส้นเลือดดำสายสะดือ เส้นเลือดดำพอร์ตัล ถุงน้ำดี ไต
    กระเพาะปัสสาวะ ผนังหน้าท้อง และสะดือ)
  • เพศ
  • แขนขา (รูปร่าง ส่วนประกอบ และการเคลื่อนไหว)

การตรวจขั้นละเอียด (Targeted Ultrasound)

1. ระบบประสาทส่วนกลาง

1.1 ความผิดปกติของท่อประสาท

  • Acrania
  • Anencephaly
  • Cephaloceles
  • Spina bifida และ meningoceles

1.2 หัวบาตร (Ventriculomegaly/hydrocephalus)
1.3 Holoprosencephaly
1.4 Dandy-Walker Malformations
1.5 พยาธิสภาพการทำลายเนื้อสมอง

  • Hydranenecephaly
  • Porencephaly/Schizencephaly

1.6 Microcephaly/Macrocephaly
1.7 Agenesis of corpus callosum
1.8 อื่น ๆ เช่น หินปูนจับในสมอง กระดูกสันหลังคดและโก่ง เป็นต้น

2. ใบหน้าและคอ

2.1 ความผิดปกติของใบหน้า

  • ปากแหว่ง/เพดานโหว่
  • เบ้าตาถี่/ห่าง
  • ความผิดปกติของจมูก งวง (proboscis)
  • คางเล็ก
  • ก้อนที่หน้า เช่น cephalocele ส่วนหน้า

2.2 ก้อนที่คอ

  • Nuchal edema/translucency
  • Cystic hygroma
  • Cervical teratoma
  • ก้อนของธัยรอยด์/คอพอก

3. หัวใจ

3.1 ความผิดปกติในโครงสร้างของหัวใจ

  • Endocardial cushion (Atrioventricular) defect
  • Ventricular septal defect
  • Ebstein’s anomaly
  • Hypoplastic heart
  • Univentricular heart

3.2 ความผิดปกติในจังหวะการเต้นของหัวใจ (arrhythmia)

  • Premature atrial และ ventricular contractions
  • Tachycardia
  • Bradycardia

4. ท่อทางเดินปัสสาวะและท่อสืบพันธุ์

4.1 ไตฝ่อ (renal agenesis)
4.2 การอุดตันของทางเดินปัสสาวะ

  • กรวยไตโต/ท่อไตโต
  • Bladder outlet obstruction

4.3 ถุงน้ำที่ไต

  • Multicystic dysplastic kidneys
  • Infantile polycystic kidneys
  • Autosomal dominant polycystic kidneys
  • Obstructive renal dysplasia

4.4 ก้อนที่ต่อมหมวกไต
4.5 ความผิดปกติของท่อสืบพันธุ์ เช่น ถุงน้ำรังไข่

5. ท้องและทางเดินอาหาร

5.1 ทางเดินอาหารอุดตัน

  • หลอดอาหารตีบตัน
  • ดูโอดีนั่มตีบตัน
  • ลำไส้ใหญ่ตีบตัน
  • Meconium ileus และ peritonitis

5.2 ผนังหน้าท้องโหว่

  • Gastroschisis
  • Omphalocele
  • Pentalogy of Cantrell
  • Limb-body-wall complex
  • Bladder/cloacal extrosphy

5.3 น้ำและก้อนในช่องท้อง

6. ทรวงอก

6.1 ปอดแฟบ (pulmonary hypoplasia)
6.2 ก้อนในทรวงอก

  • ไส้เลื่อนกระบังลม
  • Congenital cystic adenomatoid malformations
  • Bronchial sequestration
  • ก้อนใน mediastinum (teratoma)

6.3 น้ำในทรวงอก (pleural effusion)

7. ระบบกระดูกโครงร่าง

7.1 กลุ่มแขนขาสั้นที่ไม่รอดชีวิต (lethal)

  • Thanatophoric dysplasia
  • Achondrogenesis
  • Osteogenesis imperfecta II
  • Hypophosphatasia
  • Short-rib polydactyly syndrome เป็นต้น

7.2 กลุ่มแขนขาสั้นที่รอดชีวิต (non-lethal)

  • Achondroplasia
  • Osteogenesis imperfecta type I, III, IV เป็นต้น

7.3 แขนขาขาดหาย (limb reduction defects)
7.4 ความผิดปกติของมือและเท้า

  • นิ้วทับเกยกัน
  • มือเท้าปุก
  • นิ้วโก่งเข้า (clinodactyly)
  • นิ้วเกิน/นิ้วขาด
  • ส้นเท้านูน (Rocker-bottom)

7.5 Caudal regression
7.6 Sacrococcygeal teratoma

8. ครรภ์แฝด

8.1 Twin-twin transfusion syndrome, Stuck twins
8.2 แฝดไม่มีหัวใจ (acardiac twins)
8.3 แฝดติดกัน (conjoined twins)

9. ทารกบวมน้ำจากสาเหตุต่าง ๆ

10. มาร์คเกอร์ของความผิดปกติทางโครโมโซม (Sonomarker)

10.1 Soft sign

  • choroid plexus cyst
  • mild ventriculomegaly
  • mild hydronephrosis
  • nuchal translucency / thickening
  • hyperechoic bowels
  • intracardiac echogenic foci
  • กระดูกต้นขา/แขนสั้น
  • ความผิดปกติของมือเท้า (ส้นนูน นิ้วเกิน เท้าปุก นิ้วทับกัน เป็นต้น)

10.2 ความผิดปกติรุนแรง (ดูโอดีนั่มตีบตัน endocardial cushion defect เป็นต้น)

6. มีความรู้และทักษะในการรักษาทารกในครรภ์ Top of Page

วัตถุประสงค์

ผู้ฝึกอบรมมีความรู้และสามารถอภิปรายถึงแนวทางในการรักษาทารกในครรภ์ รวมทั้งเทคนิคต่าง ๆ ที่กำลังพัฒนาหรือแนวโน้มในอนาคต และมีทักษะในการรักษาทารกในครรภ์ที่กระทำกันบ่อย ๆ

การรักษาที่ควรปฏิบัติได้

  1. การเจาะดูดน้ำคร่ำ (amniocentesis) : เช่น บางรายของภาวะครรภ์แฝดน้ำ หรือ twin-twin transfusion syndrome
  2. เติมน้ำคร่ำ (amnioinfusion) : เช่น รายที่มีน้ำคร่ำน้อยมากจากการอุดตันทางเดินปัสสาวะ หรือแก้ปัญหาการกดสายสะดือระยะคลอด เป็นต้น
  3. Intrauterine resussitation
  4. การดูดน้ำจากร่างกายหรือถุงน้ำในทารก เช่น ดูดน้ำจากทรวงอกในบางรายของ chylothorax หรือ ถุงน้ำรังไข่ที่มีขนาดใหญ่มาก
  5. การให้ยาแก่ทารกโดยอ้อม
    • ให้สเตียรอยด์เพื่อเร่งการเจริญของปอดทารก
    • ให้ indomethacin เพื่อรักษาภาวะครรภ์แฝดน้ำที่ไม่ทราบสาเหตุ
    • dexamethasone แก่มารดา เพื่อรักษา congenital adrenal hyperplasia
    • ให้กรดโฟลิคป้องกันภาวะท่อประสาทไม่ปิด
  6. Selective fetocide / Fetal reduction
    • ฉีดโปตัสเซียมคลอไรด์เพื่อทำลายแฝดผิดปกติ เพื่อลดความเสี่ยงของแฝดปกติ หรือลดจำนวนแฝดหลายตัว

การรักษาที่ควรรู้หรือคุ้นเคย

1. การให้สารบางอย่างแก่ทารกโดยตรง

  • การให้เลือดแก่ทารก (intraperitoneal / intravascular) เช่น รายเริ่มบวมน้ำจาก Rh isoimmunization
  • การให้อัลบิวมินแก่ทารก เช่น ในรายบวมน้ำโดยไม่ทราบสาเหตุ
  • การให้เกล็ดเลือด เช่น ในราย autoimmune thrombocytopenia
  • การให้ยาแก่ทารกโดยตรง
  • digoxin ในรายหัวใจล้มเหลวที่ไม่ทราบสาเหตุ
  • anti-arrhythmic ในรายหัวใจเต้นผิดจังหวะ

2. การใส่ท่อระบาย (shunt) ในทารกก่อนคลอด เช่น บางรายของภาวะ

  • น้ำในช่องปอด
  • ทางเดินปัสสาวะอุดตัน

3. การผ่าตัดทารกในครรภ์แบบเปิด

  • ไส้เลื่อนกระบังลม
  • sacrococcygeal teratoma
  • posterior urethral valve obstruction

4. การรักษา twin-twin transfusion syndrome

  • การใช้เลเซอร์ทำลายเส้นเลือดที่เชื่อมกัน
  • ฉีดไฟบรินเข้าไปในสายสะดือทารกที่เป็น acardiac twin
  • รัดสายสะดือทารก acardiac twin โดยผ่านกล้อง

5. การใส่ pacemaker ให้กับทารกที่มี complete heart block
6. การรักษาที่เป็นไปได้สูงในอนาคต

  • การปลูกถ่ายเซลล์ทารกในครรภ์ (stem cell transplantation)
  • การรักษาโดยการเปลี่ยนยีน (gene replacement therapy)
  • การผ่าตัดทารกในครรภ์โดยผ่านกล้องเล็ก ๆ
  • ฯลฯ
Read More

Fellowship Program

โปรแกรมการฝึกอบรม (Fellowship)

แต่ละสถาบันฝึกอบรมจะต้องจัดระบบการบริหารเวลาอย่างเหมาะสม โดยมีตารางโปรแกรมการปฏิบัติงานที่ชัดเจน ซึ่งแต่ละสถาบันอาจปรับเปลี่ยน เวลาและปริมาณให้เข้าสภาพการปฏิบัติงานของแต่ละสถาบัน ตารางเวลาการปฏิบัติงานควรครอบคลุมหัวข้อหลักดังต่อไปนี้

1. การปฏิบัติงานด้านคลินิก

  • บริการผู้ป่วยนอกในคลินิกครรภ์เสี่ยงสูง หรือคลินิกที่สัมพันธ์กับเวชศาสตร์มารดาและทารก
  • บริการผู้ป่วยใน ในหอผู้ป่วยครรภ์เสี่ยงสูง รวมทั้งห้องคลอดครรภ์เสี่ยงสูง
  • บริการงานของสาขาต่อยอดในหน่วยเวชศาสตร์มารดาและทารก
  • งานบริการด้านคลื่นเสียงความถี่สูงทางสูติศาสตร์ รวมถึงคลื่นเสียงดอพเลอร์
  • การตรวจสุขภาพทารกในครรภ์ (NST, AST, CST, BPP, Doppler)
  • หัตถการรุกล้ำร่างกาย : เจาะน้ำคร่ำ (ปีที่หนึ่ง), ตัดชิ้นเนื้อรก และเจาะเลือดสายสะดือ, เทคนิครักษาทารกในครรภ์อื่น ๆ (ปีที่สอง)
  • รับปรึกษาเมื่อมีผู้ป่วย (on call) กรณีผู้ป่วยมีปัญหาซับซ้อน

2. การปฏิบัติงานทางห้องปฏิบัติการ (ปีละ 1 เดือน)

  • ปฏิบัติงานในห้องปฏิบัติการเซลล์พันธุศาสตร์
  • ปฏิบัติงานห้องปฏิบัติการที่เกี่ยวข้อง (พันธุกรรมระดับโมเลกุล, HPLC, screening lab ฯลฯ)

3. การหมุนเวียนปฏิบัติงานนอกภาควิชาสูติศาสตร์

  • ห้องทารกแรกเกิด (1 เดือน)
  • ภาควิชาวิสัญญีวิทยา (1 เดือน)
  • ภาควิชาพยาธิวิทยา (1 เดือน)

4. งานกิจกรรมการเรียนการสอน

  • วารสารสโมสรทางเวชศาสตร์มารดาและทารก (เดือนละ 1 ครั้ง)
  • ประชุมวิชาการเวชศาสตร์มารดาและทารก (เดือนละ 1 ครั้ง)
  • รายงานผู้ป่วย (คลื่นเสียงความถี่สูง, ครรภ์ที่มีปัญหาซับซ้อน) (สัปดาห์ละ 1 ครั้ง)
  • วารสารสโมสร, หัวข้อทบทวนวิชาการ ของภาควิชา (ส่วนที่เกี่ยวข้อง)
  • ร่วมฟังบรรยายทางวิชาการ (อย่างน้อยเดือนละ 1 ครั้ง) หัวข้อการบรรยายที่สำคัญอาจมีดังต่อไปนี้ (ปรับได้ตามความเหมาะสม )
    • การให้คำปรึกษาทางพันธุกรรม
    • เซลล์พันธุศาสตร์
    • พันธุศาสตร์ระดับโมเลกุล
    • การคัดกรองและวินิจฉัยก่อนคลอดความผิดปกติของโครโมโซม
    • การคัดกรองและวินิจฉัยก่อนคลอดโรคธาลัสซีเมีย
    • โรคและพยาธิวิทยาของทารก
    • การตรวจคลื่นเสียงความถี่สูงขั้นละเอียดในการคัดกรองความพิการโดยกำเนิดของระบบประสาท หัวใจ ทางเดินอาหาร ท่อทางเดินปัสสาวะ โครงร่าง แขนขา
    • คลื่นเสียงความถี่สูงของหัวใจทารกในครรภ์
    • ดอพเลอร์ในทางสูติศาสตร์
    • ทารกบวมน้ำ
    • ทารกที่มีความผิดปกติของโครโมโซม
    • การติดเชื้อของทารกในครรภ์
    • กลุ่มอาการสำคัญของทารกในครรภ์
    • ทารกโตช้าในครรภ์
    • การรักษาทารกในครรภ์
    • การติดเชื้อเอชไอวีในสตรีตั้งครรภ์
    • การตรวจสุขภาพทารกก่อนระยะคลอด
    • การตรวจสุขภาพทารกในระยะคลอด
    • การใช้ยาในสตรีตั้งครรภ์
    • โรคแทรกซ้อนทางอายุกรรมในสตรีตั้งครรภ์ที่สำคัญ เช่น เบาหวาน โรคหัวใจ โรคไต

5. การหมุนเวียนต่างภาควิชา

  • วิสัญญีวิทยา (1 เดือน)
  • กุมารเวชศาสตร์ทารกแรกเกิด (1 เดือน)
  • พยาธิวิทยา (1 เดือน)

6. การวิจัย

  • เลือกทำวิจัย 1 เรื่องที่เกี่ยวข้องกับเวชศาสตร์มารดาและทารก
  • นำเสนอโครงร่างวิจัยภายใน 6 เดือนแรกของการฝึกอบรม
  • ทำวิจัย พร้อมรายงานความคืบหน้าเป็นระยะในการประชุมทางวิชาการของหน่วย
  • ให้ความร่วมมือช่วยเหลืองานวิจัยอื่น ๆ ในหน่วยตามความเหมาะสม

 

Read More

Training Evaluation

การประเมินผล

ผู้ที่ได้รับการฝึกอบรมแพทย์เฉพาะทางต่อยอดสาขาเวชศาสตร์มารดาและทารกครบตามหลักสูตรแล้ว และผ่านการประเมินผลจากสถาบันฝึกอบรม จะมีสิทธิ์สมัครสอบเพื่อประกาศนียบัตรสาขาเวชศาสตร์มารดาและทารก ตามที่กำหนดโดยราชวิทยาลัยสูตินรีแพทย ์แห่งประเทศไทย

1. การประเมินเพื่อปรับปรุง (formative evaluation)

เป็นการประเมินในระหว่างการฝึกอบรมซึ่งประเมินผลอย่างเป็นทางการโดยคณาจารย์ ประจำหน่วยของแต่ละสถาบัน และรับรองโดยหัวหน้าสถาบัน ซึ่งประเมินทั้ง

  • ด้านปัญญาวิสัย (cognitive domain) คือการประเมินด้านความรู้ ความสามารถในการใช้วิจารณญาณเพื่อการแก้ปัญหา โดยประเมินจากการเฝ้าสังเกตพัฒนาการการเรียนรู้ การดูแลรักษา การปฏิบัติหน้าที่จากสถานการณ์จริง การแสดงออกในการแก ้ปัญหา แนวคิด การวิเคราะห์ข้อมูล การมีส่วนร่วมในกิจกรรมทางวิชาการต่าง ๆ
  • ด้านจลนพิสัย (psychomotor domain) คือการประเมินด้าน ทักษะในการบริบาลผู้ป่วย ทักษะในการทำหัตถการ ทักษะในการสื่อสาร ทักษะในการให้คำปรึกษา ทักษะในการถ่ายทอดความรู้หรือข้อแนะนำ โดยประเมินจากการเฝ้าสังเกตจากการปฏิบัติหน้าที่ในสถานการณ์จริง เน้นทักษะและขั้นตอนการปฏิบัติ รวมทั้งการประเมินจากสมุดบันทึกการปฏิบัติงาน (log book)
  • ด้านเจตคติพิสัย (affective domain) เป็นการประเมินด้านจริยธรรม และมารยาทแห่งการประกอบวิชาชีพ วัดจากการเฝ้าสังเกตพฤติกรรม เช่น ความซื่อสัตย์สุจริต ความรับผิดชอบ การตรงต่อเวลา การมีมนุษยสัมพันธ์ที่ดีต่อผู้ป่วย ผู้เกี่ยวข้อง และเพื่อนร่วมงาน การควบคุมอารมณ์ได้ การมีน้ำใจ การปฏิบัติตามกฏหมายว่าด้วยสิทธิของผู้ป่วย เป็นต้น ในกรณีที่ผู้รับการฝึกอบรมไม่สามารถ ปฏิบัติตามแนวทางที่กำหนดไว้ ขาดความรับผิดชอบ ขาดจริยธรรม ผู้ฝึกอบรมอาจอาจพิจารณายุติการฝึกอบรมได้

สถาบันฝึกอบรมจะต้องทำหน้าที่ประเมินทั้งสามกรณีข้างต้น แล้วสรุปว่าผ่าน จึงมีสิทธิ์สมัครสอบส่วนกลาง
เมื่อสิ้นสุดการฝึกอบรม

2. การประเมินผลเมื่อสิ้นสุดการฝึกอบรม (summative evaluation)

ประเมินโดยคณะกรรมการส่วนกลางจากราชวิทยาลัยสูตินรีแพทย์แห่งประเทศไทย โดยประเมินผลการวิจัย การสอบข้อเขียน และการสอบสัมภาษณ์ การสอบผ่าน หมายถึงการสอบผ่านทั้งสามกรณีต่อไปนี้ (ถ้าไม่ผ่านให้สอบใหม่เฉพาะส่วนที่ไม่ผ่านในโอกาสต่อไป)

  • การตรวจวิจัยฉบับสมบูรณ์ ดังเกณฑ์ที่ได้กล่าวไว้ในส่วนการประเมินผลวิจัยของราชวิทยาลัยสูตินรีแพทย์แห่งประเทศไทย
  • สอบข้อเขียน ทำการสอบเฉพาะประเภท multiple choices question (MCQ) ซึ่งออกข้อสอบโดยคณะกรรมการส่วนกลางจำนวน 150 ข้อ (ข้อสอบที่สอดคล้องกับเนื้อหาวิชาของหลักสูตร) ต้องสอบผ่านเกินร้อยละ 60 จึงถือว่าสอบผ่าน
  • การสอบปากเปล่า สอบโดยคณะกรรมการส่วนกลาง

 

Read More

Course Contents

Course Contents (Fellowship)

1. มีความรู้ก้าวหน้าทางเวชศาสตร์มารดาและทารก

วัตถุประสงค์:

ผู้ฝึกอบรมมีความเข้าใจอย่างดีและสามารถอภิปรายได้ดีถึงความรู้ก้าวหน้าทางวิทยาศาสตร์พื้นฐานของการตั้งครรภ์ทั้งในแนวกว้างและแนวลึกในหัวข้อดังต่อไปนี้

วิทยาศาสตร์พื้นฐานของตั้งครรภ์

1. เอ็นโดครีนวิทยาของการตั้งครรภ์

  • โครงสร้าง การสังเคราะห์ และการควบคุมการทำงานของฮัยโปธาลามัส ต่อมใต้สมอง ต่อมธัยรอยด์ ต่อมพาราธัยรอยด์ ต่อมหมวกไต ตับอ่อน รังไข่ และรก
  • การทำงาน เมตะบอลิซึม ของฮอร์โมนสำคัญต่าง ๆ เช่น เอสโตรเจน แอนโดรเจน คอร์ติซอล ธัยรอยด์ฮอร์โมน ฮอร์โมนจากรก
  • Paracrine hormone ต่าง ๆ เช่น พรอสตาแกลนดินส์ insulin-like growth factors, inhibin เป็นต้น
  • Cytokines ต่าง ๆ เช่น interleukin เป็นต้น

2. สรีรวิทยาของการตั้งครรภ์และการคลอด

  • การปรับตัวของระบบต่าง ๆ ขณะตั้งครรภ์
  • ระบบหัวใจและหลอดเลือด
  • ระบบโลหิตวิทยา
  • ระบบทางเดินหายใจ
  • ระบบทางเดินปัสสาวะและระบบสืบพันธุ์
  • ระบบทางเดินอาหาร
  • การเปลี่ยนแปลงอื่น ๆ เช่น โภชนาการ อีเลคโตรไลท์ สภาพจิตใจและอารมณ์
  • สรีรวิทยาของการเจ็บครรภ์คลอด : ระดับโมเลกุล และความสัมพันธ์ทางคลินิก

3. คัพภะวิทยาและสรีรวิทยาของทารกในครรภ์

  • พัฒนาการของทารกในครรภ์ตั้งแต่ gametogenesis
  • การทำงานของโครงสร้างต่าง ๆ ของทารกในครรภ์ (ระบบเอ็นโดครีน หัวใจและหลอดเลือด การดิ้น โลหิตวิทยา ทางเดินอาหาร ทางเดินปัสสาวะ ระบบอิมมูน เป็นต้น)
  • กลไกการตอบสนองต่อภาวะขาดออกซิเจน

4. การก่อลูกวิรูป (teratology)

  • ความรู้ก้าวหน้าเกี่ยวกับปัจจัยแวดล้อมต่าง ๆ ต่อการเกิดความพิการของทารก
  • สารก่อลูกวิรูปที่สำคัญ เช่น ไวรัสต่าง ๆ แอลกอฮอล์ โคเคน เป็นต้น

5. สรีรวิทยาของรก

  • พัฒนาการและการทำงานของรก รวมทั้งการขนย้ายสารผ่านรก การแลกเปลี่ยนสารต่าง ๆ
  • การทดสอบการทำงานของรก : เช่น Doppler velocimetry
  • การสร้างและหลั่งสารต่าง ๆ ของรก

7. ชีวเคมี และเภสัชวิทยาที่สัมพันธ์กับการตั้งครรภ์

  • เมตาบอลิซึมของยาหรือสารต่าง ๆ ที่ผ่านรก และผลต่อทารก
  • ยาหรือสารต่าง ๆ ที่มีผลก่อลูกวิรูป
  • ยาและการหลั่งน้ำนม
  • ปฏิกริยาระหว่างยาต่าง ๆ

8. พยาธิวิทยาที่สัมพันธ์กับทารกและการตั้งครรภ์

  • พยาธิวิทยาของทารก (การชัณสูตรศพ ความพิการโดยกำเนิดที่สำคัญ การแท้ง เป็นต้น)
  • พยาธิวิทยาของรก (รูปร่างและขนาดที่ผิดปกติ ก้อนเนื้องอก การเกาะของสายสะดือผิดที่ เป็นต้น)

9. พันธุศาสตร์

  • การถ่ายทอดทางพันธุกรรมในรูปแบบต่าง ๆ
  • โรคสำคัญทางพันธุกรรม เช่น ธาลัสซีเมีย ฮีโมฟิลเลีย เปลือกต่อมหมวกไตหนา เป็นต้น
  • Cytogenetics
  • ความผิดปกติทางโครโมโซมที่สำคัญ ได้แก่ trisomy 13, 18, 21, triploidy, 45X เป็นต้น
  • พันธุศาสตร์ชีวโมเลกุล (องค์ประกอบและการทำงานของยีนส์ PCR มิวเตชั่น วิธีการตรวจหามิวเตชั่นต่าง ๆ วิธีเรียงลำดับเบส เป็นต้น)
  • การให้คำปรึกษาทางพันธุกรรม

10. อิมมูโนวิทยาที่สัมพันธ์กับการตั้งครรภ์

  • หลักพื้นฐานในการตอบสนองทางภูมิคุ้มกัน
  • ต้นกำเนิดและการทำงานของอิมมูโนกลอบบูลินต่าง ๆ และ T,B lymphocytes
  • ระบบ HLA
  • Monoclonal antibodies
  • ทารกในฐานะ graft
  • การประยุกต์ความรู้ในทางคลินิก เช่น Rh isoimmunization หรือโรคออโตอิมมูน เป็นต้น

ศาสตร์ที่เกี่ยวข้อง

1. วิสัญญีวิทยา

  • การออกฤทธิ์และจลน์ศาสตร์ของยาทางวิสัญญีวิทยา : ยาดมสลบ ยาชาเฉพาะที่ ยาระงับปวด
  • ภาวะแทรกซ้อนที่สำคัญ : หัวใจหยุดเต้น การหยุดหายใจ ปฏิกริยาจากยา การสูดสำลัก
  • การดูแลและติดตามผู้ป่วยที่ไม่รู้สึกตัว ผู้ป่วยหนัก

2. ทารกแรกคลอด

  • สรีรวิทยาของรกแรกคลอด
  • การช่วยชีวิตทารกแรกคลอด
  • ปัญหาที่พบบ่อยในทารกแรกคลอด : ภาวะกดการหายใจ เหลือง ติดเชื้อ ชัก น้ำตาลต่ำ แคลเซียมต่ำ อุณหภูมิต่ำ เลือดออกในสมอง โตช้า ปัญหาที่สัมพันธ์กับการคลอดก่อนกำหนด
  • ภาวะพิการโดยกำเนิดที่สำคัญ เช่น กลุ่มอาการดาวน์ เป็นต้น

3. การวิจัยและชีวสถิติ

  • วิธีการวิจัย การให้เหตุผลทางวิทยาศาสตร์
    • การอ่านวารสารทางคลินิก (ธรรมชาติการดำเนินโรค พยากรณ์ สาเหตุ การวินิจฉัย การรักษา)
    • การอ่านบทความทบทวนทางวิชาการ
  • วิธีการของกาวิจัย การเขียนโครงร่าง
    • การสร้างคำถามวิจัยและเรียงลำดับ
    • ชนิดของการวิจัย : (descriptive, diagnostic, etiologic, intervention, systemic review)
    • อคติในการทำวิจัย
    • จริยธรรมในการวิจัย
    • การบริหารโครงการ
    • การตีพิมพ์บทความทางวิทยาศาสตร์ในวารสาร
  • การวัดต่าง ๆ (measurement)
    • ความเชื่อถือและความสมเหตุผล
    • เครื่องมือและการวัดในทางคลินิก, การออกแบบสอบถาม, การเฝ้าสังเกต เทคนิคการสัมภาษณ์
    • คอมพิวเตอร์
    • การใช้คอมพิวเตอร์ในการสื่อสาร ไมโครซอฟต์ การบริหารเอกสารอ้างอิง นำเสนอเนื้อหาและกราฟฟิค
  • เศรษฐศาสตร์เชิงคลินิก
    • ภาพรวม และการวิเคราะห์
  • วิทยาศาสตร์สุขภาพเชิงสังคม (health social science)
    • การตรวจวัดสุขภาพและคุณภาพชีวิต การอภิปรายกลุ่มจำเพาะ การสัมภาษณ์ในรายละเอียด
  • ชีวสถิติ (biostatisitcs)
    • ภาพรวม
    • สถิติสำหรับการประเมินทางคลินิก
    • การรวบรวมข้อมูลและนำเสนอ โอกาสและการกระจาย การกำหนดความเสี่ยง
    • ประชากรและการเลือกกลุ่มตัวอย่าง, การคำนวณขนาดตัวอย่าง
    • การวิเคราะห์แบบต่าง ๆ (analysis of categorial data, survival analysis, nonparametric test, correlation & regression, analysis of variance, meta-analysis)

2. มีความรู้และทักษะสูงในการบริบาลครรภ์เสี่ยงสูง Top of Page

วัตถุประสงค์

1. ผู้ฝึกอบรมสามารถที่จะอภิปรายถึงภาวะแทรกซ้อนทางอายุรศาสตร์ ศัลยศาสตร์ และสูติศาสตร์ในสตรีตั้งครรภ์ที่พบได้บ่อย ในหลายแง่มุม

  • ระบาดวิทยา
  • สาเหตุ / ปัจจัยส่งเสริม
  • พยาธิสรีรวิทยา
  • ผลของการตั้งครรภ์ต่อโรค
  • ผลของโรคต่อการตั้งครรภ์
  • อาการและอาการแสดงทางคลินิก
  • การวินิจฉัยและการวินิจฉัยแยกโรค
  • การตรวจค้นเพื่อการวินิจฉัย
  • การดูแลรักษา
  • พยากรณ์โรคและการติดตาม

 

2. ผู้ฝึกอบรมสามารถให้การวินิจฉัยและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางอายุรศาสตร์ ศัลยศาสตร์ และสูติศาสตร์ที่พบได้บ่อย ๆ ในสตรีตั้งครรภ์

ภาวะแทรกซ้อนทางอายุรศาสตร์

1. ความดันโลหิตสูง
2. เบาหวาน
3. ความผิดปกติทางเอ็นโดครีนอื่น ๆ เช่น โรคต่อมธัยรอยด์ พาราธัยรอยด์ ต่อมใต้สมอง ต่อมหมวกไต
4. ความผิดปกติทางโลหิตวิทยา เช่น โลหิตจาง การแข็งตัวของเลือดผิดปกติ เกล็ดเลือดต่ำ เป็นต้น
5. โรคหัวใจและหลอดเลือด เช่น

  • โรคหัวใจรูห์มาติค
  • หัวใจพิการโดยกำเนิด
  • Infective endocarditis
  • กล้ามเนื้อหัวใจผิดปกติ
  • หัวใจเต้นผิดจังหวะ
  • การปลูกถ่ายเปลี่ยนหัวใจ

6. โรคไต

  • การติดเชื้อทางเดินปัสสาวะ
  • นิ่วในไต
  • acute glomerulonephritis
  • nephrotic syndrome
  • tubular and cortical necrosis
  • ไตล้มเหลว
  • ไตเทียม

7. โรคระบบทางเดินอาหาร เช่น แพ้ท้องรุนแรง ทางเดินอาหารอุดตัน ตับอ่อนอักเสบ ไส้ติ่งอักเสบ ถุงน้ำดีอักเสบ แผลในกระเพาะและลำไส้ เป็นต้น
8. โรคตับ

  • ตับอักเสบ
  • Cholestasis
  • fatty liver
  • ตับแข็ง และอื่น ๆ

9. โรคของปอด

  • หืด
  • วัณโรค
  • การติดเชื้อทางเดินหายใจ
  • ARDS
  • Pulmonary embolism
  • Aspiration pneumonitis

10. โรคทางระบบประสาท

  • ลมชัก
  • Myasthenia gravis
  • Guillain-Barre syndrome
  • เนื้องอกในสมอง
  • Migraine
  • โรคหลอดเลือดในสมอง

11. โรคออโตอิมมูนและเนื้อเยื่อเกี่ยวพัน

  • SLE
  • Rheumatoid arthritis
  • Antiphospholipid antibodies

12. โรคมะเร็ง

  • มะเร็งระบบสืบพันธุ์ (มะเร็งปากมดลูก มะเร็งรังไข่ มะเร็งเนื้อรก)
  • มะเร็งเม็ดเลือดขาว
  • มะเร็งต่อมน้ำเหลือง
  • มะเร็งเต้านม เป็นต้น

13. โรคผิวหนัง

  • Herpes gestationis
  • impetigo herpetiformis
  • PUPPP

14. การใช้สารเสพย์ติด : แอลกอฮอล์ กาแฟ บุหรี่ ยาบ้า โคเคน เฮโรอีน บาร์บิทุเรท ยากล่อมประสาท เป็นต้น
15. โรคทางจิตเวชศาสตร์ เช่น ภาวะซึมเศร้า หรือโรคจิตหลังคลอด
16. โรคติดเชื้อ

  • การติดเชื้อแบคทีเรีย : Group A, B Streptococcus, Salmonella Mycoplasma, Listeriosis, Shigella, Haemophilus, Anaerobic bacteria เป็นต้น
  • การติดเชื้อไวรัส : Rubella, Parvovirus, Varicella-Zoster, Coxsackie, Cytomegalovirus, Hepatitis เป็นต้น
  • การติดเชื้อปรสิต เช่น มาเลเรีย Toxoplasmosis
  • การติดเชื้อรา เช่น Pneumocystis crinii, Cryptococcosis, Candidiasis,Coccidiomycosis เป็นต้น
  • โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ เช่น เอชไอวี ซิฟิลิส หนองใน คลามิเดีย แผลริมอ่อน เริม ทริโคโมแนส เป็นต้น

ภาวะแทรกซ้อนทางศัลยศาสตร์

1. การดูแลในภาวะวิกฤติและการบาดเจ็บ

  • การช่วยฟื้นคืนชีพ (CPR)
  • การให้เลือดและองค์ประกอบเลือด
  • การช่วยเหลือทางเดินหายใจ
  • บาดเจ็บต่าง ๆ (อุบัติเหตุรถยนต์ การกระแทก ถูกแทง เผาไหม้)

2. ภาวะ acute abdomen

  • ไส้ติ่งอักเสบเฉียบพลัน
  • ปีกมดลูกบิดขั้ว
  • ถุงน้ำรังไข่แตก
  • นิ่วในถุงน้ำดี ถุงน้ำดีอักเสบ
  • ลำไส้อุดตัน

3. ตกเลือด – เลือดออกในทางเดินอาหารส่วนบน / ส่วนล่าง

ภาวะแทรกซ้อนทางสูติศาสตร์

1. คลอดยาก (แรงเบ่งไม่ดี ทารกท่าผิดปกติ เชิงกรานแคบ)
2. ตกเลือด (แท้ง ครรภ์นอกมดลูก ครรภ์ไข่ปลาอุก รกเกาะต่ำ รกลอกตัวก่อนกำหนด มดลูกแตก มดลูกไม่แข็งตัว รกค้าง รกติด มดลูกปลิ้น ช่องทางคลอดฉีกขาด)
3. ความดันโลหิตสูง:

  • Pregnancy induced hypertension
  • Pregnancy aggravated hypertension
  • Transient hypertension

4. การคลอดก่อนกำหนด / น้ำเดินก่อนกำหนด
5. ครรภ์เกินกำหนด
6. ทารกโตช้าในครรภ์
7. ครรภ์แฝด
8. การสูญเสียทารกซ้ำ ๆ (recurrent pregnancy losses)
9. ทารกพิการโดยกำเนิด
10. โรคของรก สายสะดือ และเยื่อหุ้มเด็ก

  • เยื่อหุ้มเด็กอักเสบ
  • ครรภ์แฝดน้ำ
  • น้ำคร่ำน้อย
  • รกน้อย รกบาง circummarginate เป็นต้น
  • เนื้อรกตาย
  • ความผิดปกติของสายสะดือ : ปม บิด ตีบ ถุงน้ำ ก้อนเลือดคั่ง บวม เนื้องอก เส้นเลือดแดงสายสะดือเส้นเดียว เกาะผิดที่ (เช่น ที่ขอบรก เยื่อหุ้มเด็ก) vasa previa

3. มีความรู้และทักษะสูงในการประเมินสุขภาพทารกในครรภ์

วัตถุประสงค์

ผู้ฝึกอบรมมีความรู้ความเข้าใจในหลักการ ข้อดี ข้อเสีย และสามารถแปลผลการทดสอบสุขภาพทารกในครรภ์ด้วยเทคนิคต่าง ๆ ทั้งในระยะก่อนคลอดและ
ระยะคลอด

1. เทคนิคต่าง ๆ ในการประเมินสุขภาพทารกในครรภ์ในระยะก่อนคลอด

  • การนับเด็กดิ้น
  • Nonstress test / Acoustic stimulation test
  • Contraction stress test
  • Biophysical profile
  • Modified biophysical profile
  • Doppler velocimetry

2. เทคนิคการประเมินสุขภาพทารกในครรภ์ในระยะคลอด

  • Fetal heart rate monitoring (external/internal)
  • Acoustic stimulation test
  • Scalp blood pH

4. มีความรู้และทักษะสูงในการคัดกรองและวินิจฉัยก่อนคลอด Top of Page

วัตถุประสงค์

ผู้ฝึกอบรมมีความรู้ก้าวหน้าเกี่ยวกับวิทยาศาสตร์พื้นฐานของการวินิจฉัยก่อนคลอด สามารถคัดกรอง/วินิจฉัยโรคในทารกที่สำคัญได้อย่างมีประสิทธิภาพ ได้แก่

1. ความผิดปกติของโครโมโซมที่พบได้บ่อย
2. โรคธาลัสซีเมียชนิดร้ายแรง
3. ความผิดปกติทางโครงสร้าง
4. กลุ่มโรคจำเพาะที่ประวัติมีความเสี่ยง เช่น ฮีโมฟิลเลีย เปลือกต่อมหมวกไตหนา เป็นต้น

1. วิทยาศาสตร์พื้นฐานของการวินิจฉัยก่อนคลอด

  • ผู้ฝึกอบรมมีความรู้เกี่ยวกับ
    • พันธุศาสตร์
    • พัฒนาการ และ สรีรวิทยาของทารกในครรภ์
    • ความรู้เกี่ยวกับโรคของทารก
  • ผู้ฝึกอบรมสามารถอธิบายและแปลผลความผิดปกติเกี่ยวกับ
  • วิธีการถ่ายทอดทางพันธุกรรม
  • เทคนิคทางห้องปฏิบัติการเกี่ยวกับการตรวจโครโมโซม
  • การวิเคราะห์ดีเอ็นเอ
  • ความรู้เกี่ยวกับพัฒนาการของทารกในครรภ์
  • ความรู้เกี่ยวกับสรีรวิทยาของทารกในครรภ์
  • โรคความผิดปกติทางโครโมโซม โดยเฉพาะ trisomy 21, 18, 13 triploidy, XO เป็นต้น
  • โรคทางพันธุกรรม: โดยเฉพาะอย่างยิ่งธาลัสซีเมียชนิดร้ายแรง ฮีโมฟิลเลีย เป็นต้น
  • ภาวะความพิการโดยกำเนิดของระบบต่าง ๆ (ส่วนอัลตราซาวน์)

2. การคัดกรองค้นหาครรภ์ที่มีความเสี่ยง

  • ผู้ฝึกอบรมมีความรู้เกี่ยวกับการคัดกรองค้นหาการตั้งครรภ์ที่มีความเสี่ยงต่อโรคสำคัญ
  • ผู้ฝึกอบรมมีความสามารถในการคัดกรอง
    • คัดกรองความเสี่ยงต่อกลุ่มอาการดาวน์ โดย ประวัติและอายุ, MSAFP และ triple screen ประวัติในครอบครัว
      • อายุมารดา
      • MSAFP/Triple screen
      • มาร์กเกอร์ทางคลื่นเสียงความถี่สูง
    • คัดกรองความเสี่ยงต่อธาลัสซีเมียชนิดร้ายแรง (รวมทั้งแปลผลทางห้องปฏิบัติการ) Retrospective screening
      • Prospective screening
      • EOFT, MCV
      • DCIP, HbE screen
      • HbA2, PCR
    • การคัดกรองความผิดปกติทางโครงสร้าง
      • คลื่นเสียงความถี่สูงในรายมีความเสี่ยง
      • คลื่นเสียงความถี่สูงเป็นกิจวัตรขณะกึ่งการตั้งครรภ์
      • คัดกรองความพิการทางโครงสร้างด้วยอัลตราซาวน์ได้อย่างมีประสิทธิภาพ
      • คัดกรองโรคจำเพาะอื่น ๆ โดยอาศัยประวัติความเสี่ยง เช่น ฮีโมฟิลเลีย ต่อมหมวกไตหนาตัว Rh isoimmunization เป็นต้น

3. การให้คำปรึกษาการวินิจฉัยก่อนคลอด (Genetic Counseling)

  • ผู้ฝึกอบรมสามารถเข้าใจอย่างดีในหลักการ ความสำคัญ และวิธีการของการให้คำปรึกษาก่อนคลอด
  • ผู้ฝึกอบรมสามารถให้คำปรึกษาได้อย่างมีประสิทธิภาพในเรื่องของ
    • ข้อบ่งชี้ (รายที่มีความเสี่ยงต่อการมีทารกที่เป็นโรค)
    • รายละเอียดของโรคที่พบบ่อย ได้แก่ ความผิดปกติทางโครโมโซม ธาลัสซีเมีย เป็นต้น
    • แนวทางในการค้นหารายละเอียดของโรคทางพันธุกรรมที่พบไม่บ่อย
    • ขั้นตอนในการให้คำปรึกษา
    • การซักประวัติและการตรวจร่างกายอย่างละเอียด
    • การตรวจพิเศษทางห้องปฏิบัติการ
    • การบันทึกประวัติครอบครัวเป็นพงศาวลี
    • การประเมินแบบแผนการถ่ายทอด (AD, AR, X-linked, multifactorial)
    • ความผิดปกติทางโครโมโซม
    • การประเมินความเสี่ยงต่อการมีลูกที่เป็นโรค
    • การบอกแนวทางในการหลีกเลี่ยงการมีลูกที่เป็นโรค
    • ให้ความรู้เกี่ยวกับโรค
    • เทคนิคในการให้ข้อมูล

4. หลักการและเทคนิคในการวินิจฉัยก่อนคลอด

ผู้ฝึกอบรมมีความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการ วิธีการ ข้อบ่งชี้ ข้อดีข้อเสีย ภาวะแทรกซ้อน ของเทคนิคในการวินิจฉัยก่อนคลอดต่าง ๆ

ผู้ฝึกอบรมสามารถอภิปราย หรือมีทักษะในการทำการวินิจฉัยก่อนคลอดดังนี้

1. Non-invasive technique

1.1 การวินิจฉัยก่อนคลอดด้วยคลื่นเสียงความถี่สูง (วินิจฉัยความผิดปกติทางโครงสร้าง)

  • สามารถคัดกรองความพิการโดยกำเนิดทางโครงสร้างได้อย่างมีประสิทธิภาพ
  • สามารถตรวจวินิจฉัยความผิดปกติโดยกำเนิด (ระดับละเอียด)
  • สามารถตรวจค้นหามาร์กเกอร์ของความผิดปกติทางโครโมโซมได้ ทั้งในไตรมาสแรกและ
    ไตรมาสที่สอง

1.2 การตรวจสารในเลือดมารดา

  • มีความรู้และแปลผลการคัดกรองเกี่ยวกับมาร์กเกอร์ต่าง ๆ ในเลือดมารดา เช่น Rh titer, Rubella titer ตลอดจนสารเคมีต่าง ๆ เช่น alpha-fetoprotein, hCG เป็นต้น
  • การคัดกรองด้วย NTDs และกลุ่มอาการดาวน์ด้วย triple test
  • เข้าใจในการแปลผลกำหนดความเสี่ยงของทารกจากข้อมูลเช่น อายุ triple test
  • คัดกรองพาหะโรคทางพันธุกรรมจากเลือดคู่สมรส โดยเฉพาะพาหะต่อธาลัสซีเมียชนิดร้ายแรง

1.3 การวินิจฉัยทารกจากเซลล์ลูกในเลือดมารดา

การตรวจหาเซลล์ของลูกในเลือดแม่เพื่อการวินิจฉัยก่อนคลอด เข้าใจถึงวิธีการแยกเซลล์ลูกจากเลือดแม่ และหลักการทางห้องปฏิบัติการในการวิเคราะห์ดีเอ็นเอได้แก่

  • PCR
  • DNA sequencing
  • Southern blot เป็นต้น
  • ตรวจโครโมโซมลูก

1.4 การล้างบริเวณปากมดลูก (transcervical flushing)

เข้าใจ อธิบายถึงหลักการ

1.5 การวินิจฉัยก่อนการฝังตัว (Preimplantation)

เข้าใจ อธิบายถึงหลักการและให้คำปรึกษาแก่คู่สมรสที่มีปัญหาโรคทางพันธุกรรม ที่มีความเสี่ยงสูง หรือรายที่มีบุตรยาก ที่ต้องอาศัยเทคโนโลยีช่วยภาวะเจริญพันธุ์อยู่แล้ว

2. Invasive technique

2.1 การเจาะดูดน้ำคร่ำ (amniocentesis)

มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับ

  • หลักการ หรือเทคนิค
  • ข้อบ่งชี้
  • ความเสี่ยง และภาวะแทรกซ้อน
  • การแปลผลและความเชื่อมั่น
  • หลักการทางห้องปฏิบัติการ
  • ขีดจำกัดในการแปลผล และปัญหาที่พบได้บ่อย
  • Early amniocentesis และ amnifiltration
  • การทำในกรณีครรภ์แฝด
  • หลักการทางห้องปฏิบัติการเกี่ยวกับการตรวจโครโมโซม (cytogenetics)
  • หลักการทางห้องปฏิบัติการเกี่ยวกับการวิเคราะห์ดีเอ็นเอจากเซลล์น้ำคร่ำ
  • สามารถให้คำปรึกษาแก่คู่สมรสได้อย่างถูกต้อง
  • สามารถปฏิบัติได้อย่างถูกต้องหลักการ

2.2 การตัดชิ้นเนื้อรก (chorionic villus sampling)

มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับ

  • หลักการ หรือเทคนิค
  • ข้อบ่งชี้
  • ความเสี่ยง และภาวะแทรกซ้อน
  • การแปลผลและความเชื่อมั่น
  • หลักการทางห้องปฏิบัติการ
  • ขีดจำกัดในการแปลผล และปัญหาที่พบได้บ่อย
  • ประเภทของการทำ (transabdominal / transcervical sampling)
  • หลักการทางห้องปฏิบัติการเกี่ยวกับการตรวจโครโมโซม (cytogenetics)
  • หลักการทางห้องปฏิบัติการเกี่ยวกับการวิเคราะห์ดีเอ็นเอจากเซลล์วิลไล
  • สามารถให้คำปรึกษาแก่คู่สมรสได้อย่างถูกต้อง
  • สามารถปฏิบัติได้อย่างถูกต้องหลักการ และแยกเนื้อรกจากเนื้อเยื่อของมารดาได้

2.3 การเจาะเลือดจากสายสะดือทารก (cordocentesis)

มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับ

  • หลักการ หรือเทคนิค
  • ข้อบ่งชี้
  • ความเสี่ยง และภาวะแทรกซ้อน
  • การแปลผลและความเชื่อมั่น
  • หลักการทางห้องปฏิบัติการ
  • ขีดจำกัดในการแปลผล และปัญหาที่พบได้บ่อย
  • หลักการทางห้องปฏิบัติการเกี่ยวกับการตรวจโครโมโซม และการวิเคราะห์โรคบางอย่างที่พบบ่อย เช่น ธาลัสซีเมีย
  • สามารถให้คำปรึกษาแก่คู่สมรสได้อย่างถูกต้อง
  • สามารถปฏิบัติได้อย่างถูกต้องหลักการ โดยผ่านการฝึกอบรมอย่างเป็นขั้นตอน

2.4 เทคนิค Coelocentesis

มีความรู้ความเข้าใจในเทคนิคและหลักการทางอณูพันธุศาสตร์ เช่น FISH, PCR

2.5 การตรวจด้วยกล้องส่องทารกและการตัดชิ้นเนื้อทารก (fetoscopy and tissue biopsy)

มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับ

  • หลักการ หรือเทคนิค
  • ข้อบ่งชี้
  • ความเสี่ยง และภาวะแทรกซ้อน
  • การแปลผลและความเชื่อมั่น
  • ขีดจำกัดในการแปลผล และปัญหาที่พบได้บ่อย

2.6 การส่องตรวจตัวอ่อนในครรภ์ (embryoscopy)
มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับ

  • หลักการ หรือเทคนิค
  • ข้อบ่งชี้
  • ความเสี่ยง และภาวะแทรกซ้อน
  • การแปลผลและความเชื่อมั่น
  • หลักการทางห้องปฏิบัติการ
  • ขีดจำกัดในการแปลผล และปัญหาที่พบได้บ่อ

4. ความรู้ทางห้องปฏิบัติการของการวินิจฉัยก่อนคลอด

  • ผู้ฝึกอบรมมีความรู้เป็นอย่างดีเกี่ยวกับการตรวจทางห้องปฏิบัติการที่สำคัญของการวินิจฉัยก่อนคลอด
    ผู้ฝึกอบรมสามารถอธิบายและแปลผลได้อย่างถูกต้องเกี่ยวกับ
  • การคัดกรองต่าง ๆ เช่น triple screen
  • MCV, DCIP, EOFT, HbE screen, Hb typing
  • HPLC
  • การเพาะเซลล์เพื่อวิเคราะห์โครโมโซม
  • การเลี้ยงเซลล์/ประสบการณ์การทำ PCR
  • การวิเคราะห์ดีเอ็นเอ

5. พยาธิวิทยาของทารก

ผู้ฝึกอบรมมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับพยาธิวิทยาของโรคต่าง ๆ ของทารกที่ทำการวินิจฉัยก่อนคลอด
ผู้ฝึกอบรมมีประสบการณ์ในการวินิจฉัยโรคทารกทางพยาธิวิทยา สามารถบรรยายความผิดปกติต่าง ๆ ของโรคที่พบได้บ่อย ๆ อย่างถูกต้อง

5. มีความรู้และทักษะสูงในการตรวจคลื่นเสียงความถี่สูงทางสูติศาสตร์

วัตถุประสงค์

ผู้ฝึกอบรมมีความรู้ก้าวหน้า และทักษะสูงในการตรวจคลื่นเสียงความถี่สูงทางสูติศาสตร์ ได้แก่

ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับคลื่นเสียงความถี่สูง

  • ฟิสิกซ์
  • ข้อบ่งชี้และขีดจำกัดในการประยุกต์ใช้
  • ความปลอดภัย
  • ความรู้ก้าวหน้าในเทคโนโลยีการสร้างภาพ
  • คลื่นเสียงความถี่สูงชนิดสามมิติ สี่มิติ และ MRI

การตรวจพื้นฐานทางสูติศาสตร์ (Basic Examination)

  • วินิจฉัยการตั้งครรภ์ ครรภ์เดี่ยว ครรภ์แฝด
  • รก สายสะดือ และน้ำคร่ำ
  • ตำแหน่งของรก รวมถึงการวินิจฉัยรกเกาะต่ำ
  • รกลอกตัวก่อนกำหนด
  • รูปร่างของรก (รูปร่างผิดปกติ เช่น circumvallate หรือการมีรกน้อย)
  • จำนวนเส้นเลือดในสายสะดือ
  • ก้อน/ถุงน้ำที่รกและสายสะดือ
  • ปริมาณน้ำคร่ำ น้ำคร่ำน้อย และครรภ์แฝดน้ำ
  • วัดสัดส่วนต่าง ๆ ของทารก
  • ประเมินอายุครรภ์
  • ประเมินการเจริญเติบโต
  • ตรวจกายวิภาคทารกปกติได้อย่างครบถ้วน (ขณะ 20 สัปดาห์)
  • รูปร่างศีรษะ
  • หน้า (ตา จมูก ริมฝีปาก เพดาน คาง)
  • สมอง (คอร์เทกซ์ ventricles สมองน้อย)
  • กระดูกสันหลัง (ทั้งสามระนาบ)
  • หัวใจ (4-chamber, aortic root, pulmonary trunk, ductus arterious, อัตราการเต้นและจังหวะ)
  • ท้อง (กระบังลม กระเพาะอาหาร ตับ เส้นเลือดดำสายสะดือ เส้นเลือดดำพอร์ตัล ถุงน้ำดี ไต
    กระเพาะปัสสาวะ ผนังหน้าท้อง และสะดือ)
  • เพศ
  • แขนขา (รูปร่าง ส่วนประกอบ และการเคลื่อนไหว)

การตรวจขั้นละเอียด (Targeted Ultrasound)

1. ระบบประสาทส่วนกลาง

1.1 ความผิดปกติของท่อประสาท

  • Acrania
  • Anencephaly
  • Cephaloceles
  • Spina bifida และ meningoceles

1.2 หัวบาตร (Ventriculomegaly/hydrocephalus)
1.3 Holoprosencephaly
1.4 Dandy-Walker Malformations
1.5 พยาธิสภาพการทำลายเนื้อสมอง

  • Hydranenecephaly
  • Porencephaly/Schizencephaly

1.6 Microcephaly/Macrocephaly
1.7 Agenesis of corpus callosum
1.8 อื่น ๆ เช่น หินปูนจับในสมอง กระดูกสันหลังคดและโก่ง เป็นต้น

2. ใบหน้าและคอ

2.1 ความผิดปกติของใบหน้า

  • ปากแหว่ง/เพดานโหว่
  • เบ้าตาถี่/ห่าง
  • ความผิดปกติของจมูก งวง (proboscis)
  • คางเล็ก
  • ก้อนที่หน้า เช่น cephalocele ส่วนหน้า

2.2 ก้อนที่คอ

  • Nuchal edema/translucency
  • Cystic hygroma
  • Cervical teratoma
  • ก้อนของธัยรอยด์/คอพอก

3. หัวใจ

3.1 ความผิดปกติในโครงสร้างของหัวใจ

  • Endocardial cushion (Atrioventricular) defect
  • Ventricular septal defect
  • Ebstein’s anomaly
  • Hypoplastic heart
  • Univentricular heart

3.2 ความผิดปกติในจังหวะการเต้นของหัวใจ (arrhythmia)

  • Premature atrial และ ventricular contractions
  • Tachycardia
  • Bradycardia

4. ท่อทางเดินปัสสาวะและท่อสืบพันธุ์

4.1 ไตฝ่อ (renal agenesis)
4.2 การอุดตันของทางเดินปัสสาวะ

  • กรวยไตโต/ท่อไตโต
  • Bladder outlet obstruction

4.3 ถุงน้ำที่ไต

  • Multicystic dysplastic kidneys
  • Infantile polycystic kidneys
  • Autosomal dominant polycystic kidneys
  • Obstructive renal dysplasia

4.4 ก้อนที่ต่อมหมวกไต
4.5 ความผิดปกติของท่อสืบพันธุ์ เช่น ถุงน้ำรังไข่

5. ท้องและทางเดินอาหาร

5.1 ทางเดินอาหารอุดตัน

  • หลอดอาหารตีบตัน
  • ดูโอดีนั่มตีบตัน
  • ลำไส้ใหญ่ตีบตัน
  • Meconium ileus และ peritonitis

5.2 ผนังหน้าท้องโหว่

  • Gastroschisis
  • Omphalocele
  • Pentalogy of Cantrell
  • Limb-body-wall complex
  • Bladder/cloacal extrosphy

5.3 น้ำและก้อนในช่องท้อง

6. ทรวงอก

6.1 ปอดแฟบ (pulmonary hypoplasia)
6.2 ก้อนในทรวงอก

  • ไส้เลื่อนกระบังลม
  • Congenital cystic adenomatoid malformations
  • Bronchial sequestration
  • ก้อนใน mediastinum (teratoma)

6.3 น้ำในทรวงอก (pleural effusion)

7. ระบบกระดูกโครงร่าง

7.1 กลุ่มแขนขาสั้นที่ไม่รอดชีวิต (lethal)

  • Thanatophoric dysplasia
  • Achondrogenesis
  • Osteogenesis imperfecta II
  • Hypophosphatasia
  • Short-rib polydactyly syndrome เป็นต้น

7.2 กลุ่มแขนขาสั้นที่รอดชีวิต (non-lethal)

  • Achondroplasia
  • Osteogenesis imperfecta type I, III, IV เป็นต้น

7.3 แขนขาขาดหาย (limb reduction defects)
7.4 ความผิดปกติของมือและเท้า

  • นิ้วทับเกยกัน
  • มือเท้าปุก
  • นิ้วโก่งเข้า (clinodactyly)
  • นิ้วเกิน/นิ้วขาด
  • ส้นเท้านูน (Rocker-bottom)

7.5 Caudal regression
7.6 Sacrococcygeal teratoma

8. ครรภ์แฝด

8.1 Twin-twin transfusion syndrome, Stuck twins
8.2 แฝดไม่มีหัวใจ (acardiac twins)
8.3 แฝดติดกัน (conjoined twins)

9. ทารกบวมน้ำจากสาเหตุต่าง ๆ

10. มาร์คเกอร์ของความผิดปกติทางโครโมโซม (Sonomarker)

10.1 Soft sign

  • choroid plexus cyst
  • mild ventriculomegaly
  • mild hydronephrosis
  • nuchal translucency / thickening
  • hyperechoic bowels
  • intracardiac echogenic foci
  • กระดูกต้นขา/แขนสั้น
  • ความผิดปกติของมือเท้า (ส้นนูน นิ้วเกิน เท้าปุก นิ้วทับกัน เป็นต้น)

10.2 ความผิดปกติรุนแรง (ดูโอดีนั่มตีบตัน endocardial cushion defect เป็นต้น)

6. มีความรู้และทักษะในการรักษาทารกในครรภ์ Top of Page

วัตถุประสงค์

ผู้ฝึกอบรมมีความรู้และสามารถอภิปรายถึงแนวทางในการรักษาทารกในครรภ์ รวมทั้งเทคนิคต่าง ๆ ที่กำลังพัฒนาหรือแนวโน้มในอนาคต และมีทักษะในการรักษาทารกในครรภ์ที่กระทำกันบ่อย ๆ

การรักษาที่ควรปฏิบัติได้

  1. การเจาะดูดน้ำคร่ำ (amniocentesis) : เช่น บางรายของภาวะครรภ์แฝดน้ำ หรือ twin-twin transfusion syndrome
  2. เติมน้ำคร่ำ (amnioinfusion) : เช่น รายที่มีน้ำคร่ำน้อยมากจากการอุดตันทางเดินปัสสาวะ หรือแก้ปัญหาการกดสายสะดือระยะคลอด เป็นต้น
  3. Intrauterine resussitation
  4. การดูดน้ำจากร่างกายหรือถุงน้ำในทารก เช่น ดูดน้ำจากทรวงอกในบางรายของ chylothorax หรือ ถุงน้ำรังไข่ที่มีขนาดใหญ่มาก
  5. การให้ยาแก่ทารกโดยอ้อม
    • ให้สเตียรอยด์เพื่อเร่งการเจริญของปอดทารก
    • ให้ indomethacin เพื่อรักษาภาวะครรภ์แฝดน้ำที่ไม่ทราบสาเหตุ
    • dexamethasone แก่มารดา เพื่อรักษา congenital adrenal hyperplasia
    • ให้กรดโฟลิคป้องกันภาวะท่อประสาทไม่ปิด
  6. Selective fetocide / Fetal reduction
    • ฉีดโปตัสเซียมคลอไรด์เพื่อทำลายแฝดผิดปกติ เพื่อลดความเสี่ยงของแฝดปกติ หรือลดจำนวนแฝดหลายตัว

การรักษาที่ควรรู้หรือคุ้นเคย

1. การให้สารบางอย่างแก่ทารกโดยตรง

  • การให้เลือดแก่ทารก (intraperitoneal / intravascular) เช่น รายเริ่มบวมน้ำจาก Rh isoimmunization
  • การให้อัลบิวมินแก่ทารก เช่น ในรายบวมน้ำโดยไม่ทราบสาเหตุ
  • การให้เกล็ดเลือด เช่น ในราย autoimmune thrombocytopenia
  • การให้ยาแก่ทารกโดยตรง
  • digoxin ในรายหัวใจล้มเหลวที่ไม่ทราบสาเหตุ
  • anti-arrhythmic ในรายหัวใจเต้นผิดจังหวะ

2. การใส่ท่อระบาย (shunt) ในทารกก่อนคลอด เช่น บางรายของภาวะ

  • น้ำในช่องปอด
  • ทางเดินปัสสาวะอุดตัน

3. การผ่าตัดทารกในครรภ์แบบเปิด

  • ไส้เลื่อนกระบังลม
  • sacrococcygeal teratoma
  • posterior urethral valve obstruction

4. การรักษา twin-twin transfusion syndrome

  • การใช้เลเซอร์ทำลายเส้นเลือดที่เชื่อมกัน
  • ฉีดไฟบรินเข้าไปในสายสะดือทารกที่เป็น acardiac twin
  • รัดสายสะดือทารก acardiac twin โดยผ่านกล้อง

5. การใส่ pacemaker ให้กับทารกที่มี complete heart block
6. การรักษาที่เป็นไปได้สูงในอนาคต

  • การปลูกถ่ายเซลล์ทารกในครรภ์ (stem cell transplantation)
  • การรักษาโดยการเปลี่ยนยีน (gene replacement therapy)
  • การผ่าตัดทารกในครรภ์โดยผ่านกล้องเล็ก ๆ
  • ฯลฯ
Read More
MFM vital stistics

Annual Reports (MFM)

Annual Report : สถิติประจำปี (ทางสูติศาสตร์)

ฐานข้อมูล

ฐานข้อมูล หน่วยเวชศาสตร์มารดาและทารก มีการสร้างฐานข้อมูลสำคัญของตัวเอง และนำเสนอต่อสาธารณะชน ในลักษณะ anual reports อย่างต่อเนื่องมาตลอดตั้งแต่ปี 1990 เป็นต้นมา หน่วยเวชศาสตร์มารดาและทารกมีระบบการเก็บข้อมูลสำคัญดังนี้

    • อัตราการตายทางสูติศาสตร์ ได้จากการบันทึกรายต่อราย ทบทวนและบันทึกโดยแพทย์
    • ข้อมูลพื้นฐานและข้อมูลการคลอดของสตรีตั้งครรภ์ทุกราย ถูกเก็บบันทึกในฐานข้อมูลโดยเจ้าหน้าที่ของหน่วย
    • ข้อมูลเกี่ยวกับการตั้งครรภ์เสี่ยงสูง และความพิการโดยกำเนิด เก็บบันทึกโดยอาจารย์แพทย์ของหน่วย
    • สถิติการการตรวจค้นทางเวชศาสตร์มารดาและทารก เก็บบันทึกโดยเจ้าหน้าที่ของหน่วย

Annual Report : Maternal-Fetal Medicine

เป็นหนังสือสถิติรายงานประจำปีของหน่วยเวชศาสตร์มารดาและทารก ซึ่งนำเสนอทุก ๆ เดือนมกราคมของทุกปี เพื่อรายงานสถิติต่าง ๆ ทางสูติกรรมอย่างละเอียดในรอบปีที่ผ่านมา ท่านผู้สนใจเกี่ยวกับสถิติรายละเอียดการคลอด ภาวะแทรกซ้อนสำคัญทางอายุรกรรม สูติกรรม สามารถตรวจเช็คหรือ download pdf file ได้จาก link ข้างบน

สถิติสำคัญ

อัตราการคลอด ประมาณ 2,000-3,000 รายต่อปี (ลดลงจากประมาณ 7,000 รายในปี 1990)
อัตราการตายทางสูติศาสตร์

  • อัตราการตายปริกำเนิด (ในรอบ 10 ปี) ประมาณร้อยละ 12 นับว่าอยู่ในเกณฑ์เป็นที่ยอมรับได้พอสมควร (เนื่องจากเป็น tertiary center ที่เป็นแหล่งรับผู้ป่วยที่ส่งต่อมาจากทั่วภูมิภาคตอนเหนือ ตัวเลขสถิตินี้จึงมิใช่ตัวเลขของโรงพยาบาลมหาราชนครเชียงใหม่ที่แท้จริง) สาเหตุหลักสัมพันธ์กับการคลอดก่อนกำหนด
    • Perinatal Mortality Rate = อัตราการตายปริกำเนิด ผลรวมการตายของทารกในครรภ์และทารกแรกคลอด แรกคลอด
    • Stillbirth rate = ทารกคลอดไร้ชีพ (ไม่มี Apgar score) ถือเอาทารกที่มีอายุครรภ์เกิน 28 สัปดาห์ (ตาม อายุครรภ์ที่ประเมินได้ดีที่สุดจากข้อมูลทางคลินิก) ถ้าคำนวณไม่ได้ให้ถือตามน้ำหนักที่มากกว่า 1,000 กรัม
    • Neonatal death rate = การตายของทารกที่คลอดมีชีพที่มีอายุครรภ์เกิน 28 สัปดาห์ (หรือน้ำหนักมากกว่า 1,000 กรัม) เสียชีวิตภายใน 7 วันแรกหลังคลอด คิดอัตรา
  • อัตราการตายของมารดาแปรปรวนจาก 0.37 ต่อ 1,000 การคลอด
  • อัตราการคลอดก่อนกำหนด (ก่อน 37 สัปดาห์) ร้อยละ 10.62 (รวมผู้คลอดที่ส่งตัวมารักษาต่อจากภูมิภาคตอนเหนือ)
  • อัตราการผ่าตัดทำคลอด ร้อยละ 19.92 ของการคลอด (ร้อยละ 16.8 สำหรับผู้คลอดสามัญ และร้อยละ 31 สำหรับผู้คลอดฝากพิเศษ)
  • อัตราการติดเชื้อ HIV ในสตรีตั้งครรภ์ ท ร้อยละ 1.36 (ปี 2008)

สถิติการตรวจค้นทางเวชศาสตร์มารดาและทารก (ปี 2008)

  • การตรวจคลื่นเสียงความถี่สูง 8,766 ครั้ง (รวมการตรวจเพื่องานวิจัย เป็นการตรวจทางนรีเวชร้อยละ 24.8) – การเจาะน้ำคร่ำเพื่อตรวจโครโมโซม 1300 ครั้ง
  • การเจาะเลือดสายสะดือทารก 439 ครั้ง
  • การตัดตรวจชิ้นเนื้อรก (chorionic villous sampling) 120 ครั้งอัตราการคลอดทารกโรคธาลัสซีเมียชนิดรุนแรง
  • ทารกบวมน้ำจากโรคฮีโมโกลบินบาร์ทในโรงพยาบาลมหาราชนครเชียงใหม่ลดลงจากปีละประมาณ 25 ราย (ก่อนปี 1994) เหลือปีละ 0 ราย (ในปี 10 ปีที่ผ่านมา)
  • ทารกรายเป็นโรคเบต้าธาลัสซีเมีย ลดลงจากปีละประมาณ 10 ราย (ก่อนปี 1994) เหลือปีละ 0-1 ราย (ใน 10 ปีที่ผ่านมา)
  • ทารกที่เป็นโรคเบต้าธาลัสซีเมีย/ฮีโมโมโกลบินอี ลงลงจากปีละประมาณ 30 รายเหลือปีละประมาณ 1 ราย (ใน 10 ปีที่ผ่านมา)
Read More

2546-2548: เฟื่องลดา ทองประเสริฐ

01L

พ.ญ. เฟื่องลดา ทองประเสริฐ (เจี๊ยบ)
Fuanglada Tongprasert

รุุ่นที่ 1 ปี 2003-2005

รุ่นที่เข้ารับการฝึกอบรม1
ปี พ.ศ. ที่เข้ารับการฝึกอบรม 2546
ชื่อ สกุล (ไทย) เฟื่องลดา ทองประเสริฐ
ชื่อ สกุล (อังกฤษ) Fuanglada Tongprasert
วัน เดือน ปีเกิด 19 ตุลาคม พ.ศ. 2519
เพศหญิงไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์fuanglada.t@cmu.ac.th
สถานที่ทำงานปัจจุบันภาควิชาสูติศาสตร์และนรีเวชวิทยา คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ อ.เมือง จ.เชียงใหม่เบอร์โทรศัพท์ที่ทำงาน :053-935552
ที่อยู่ปัจจุบัน171/78 หมู่บ้านกุลพันธ์วิลล์โครงการ 10 หมู่ 7 ตำบลไชยสถาน อำเภอสารภี จังหวัด เชียงใหม่ เบอร์โทรศัพท์บ้าน 053-128087
ประวัติการศึกษา/ฝึกอบรม
คณะ/สถาบันสาขาวิชาปีที่สำเร็จการศึกษา ปริญญา/คุณวุฒิที่ได้รับ
คณะแพทยศาสตร์ แพทยศาสตร์2542แพทยศาสตร์บัณฑิต
บัณฑิตวิทยาลัยมหาวิทยาลัยเชียงใหม่สูติศาสตร์และนรีเวชวิทยา2543ประกาศนียบัตรบัณฑิตทางวิทยาศาสตร์การแพทย์คลินิก
แพทยสภาสูติศาสตร์และนรีเวชวิทยา2546วุฒิบัตรแสดงความรู้ความชำนาญในการประกอบวิชาชีพเวชกรรม
แพทยสภาเวชศาสตร์มารดาและทารก2548วุฒิบัตรแสดงความรู้ความชำนาญเฉพาะสาขาเวชศาสตร์มารดาและทารก
ต้นสังกัดแพทย์ใช้ทุน คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
ผลงานวิจัยระหว่างการฝึกอบรมTongprasert F, Tongsong T, Wanapirak C, Sirichotiyakul S, Piyamongkol W, Chanprapaph P. Experience of the first 50 cases of cordocentesis after training with model. J Med Assoc Thai 2005;88:728-33.

Read More

2547-2549: เกษมศรี ศรีสุพรรณดิฐ

02L

พ.ญ. เกษมศรี ศรีสุพรรณดิฐ (แป้ง)
Kasemsri Srisupundit

รุุ่นที่ 2 ปี 2004-2006

รุ่นที่เข้ารับการฝึกอบรม2
ปี พ.ศ. ที่เข้ารับการฝึกอบรม 2547
ชื่อ สกุล (ไทย) เกษมศรี ศรีสุพรรณดิฐ
ชื่อ สกุล (อังกฤษ) Kasemsri Srisupundit
วัน เดือน ปีเกิด 24 กรกฎาคม พ.ศ. 2520
เพศหญิงไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์kasemsri.s@cmu.ac.th
สถานที่ทำงานปัจจุบันภาควิชาสูติศาสตร์และนรีเวชวิทยา คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ อ.เมือง จ.เชียงใหม่เบอร์โทรศัพท์ที่ทำงาน :053-945552 – 5
ที่อยู่ปัจจุบันฮิลไซด์คอนโดมิเนียม 3 ห้อง 714 ถนนนิมมานเหมินทร์ อำเภอเมือง เชียงใหม่ 50200 เบอร์โทรศัพท์บ้าน
ประวัติการศึกษา/ฝึกอบรม
คณะ/สถาบันสาขาวิชาปีที่สำเร็จการศึกษา ปริญญา/คุณวุฒิที่ได้รับ
คณะแพทยศาสตร์ แพทยศาสตร์2543แพทยศาสตร์บัณฑิต
บัณฑิตวิทยาลัยมหาวิทยาลัยเชียงใหม่สูติศาสตร์และนรีเวชวิทยา2544ประกาศนียบัตรบัณฑิตทางวิทยาศาสตร์การแพทย์คลินิก
แพทยสภาสูติศาสตร์และนรีเวชวิทยา2547วุฒิบัตรแสดงความรู้ความชำนาญในการประกอบวิชาชีพเวชกรรม
แพทยสภาเวชศาสตร์มารดาและทารก2549วุฒิบัตรแสดงความรู้ความชำนาญเฉพาะสาขาเวชศาสตร์มารดาและทารก
ต้นสังกัดแพทย์ใช้ทุน คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
ผลงานวิจัยระหว่างการฝึกอบรมSrisupundit K, Tongsong T, Sirichotiyakul S, Chanprapaph P. Fetal structural anomaly screening at 11-14 weeks of gestation at Maharaj Nakorn Chiang Mai Hospital. J Med Assoc Thai. 2006 May;89(5):588-93.

Read More