DataCamp

DataCamp

DataCamp

Currently, our department has expanded the scope of research activities by incorporating data science and machine learning technology to conventional clinical research methodology. It is important for our academic physicians, postgraduate students, and researchers to get familiar with the data science technology widely used in the industry. Therefore, the Data Science for Medical Research class is informally organized in our department for new-generation researchers. The class is supported by DataCamp, which is one of the most intuitive learning platforms for data science and analytics. DataCamp’s learn-by-doing methodology that combines short expert videos and hands-on-the-keyboard exercises would prepare our staffs to be experts in data storage, cleaning, visualization, exploration, analysis, and predictive model development through the use of R, Python, SQL, and more.

Read More

Followship Training (English)

Followship Training (English)

  • DEPARTMENT OF OBSTETRICS & GYNECOLOGY
  • FACULTY OF MEDICINE
  • CHIANG MAI UNIVERSITY
  • RESOURCE

Division of Gynecologic Oncology, Department of Obstetrics & Gynecology, Faculty of Medicine, Chiang Mai University, Chiang Mai 50200, Thailand. The Division has been approved by The Royal Thai College of Obstetricians and Gynecologists (RTOG) in 1999 to set a two-year fellowship that prepares trainees for certification in the subspecialty of gynecologic oncology.

At present, 600-700 new gynecologic cancer patients are treated each year in the Division of Gynecologic Oncology. Approximately three fourths of the patients are cervical cancer which is the major problems in the northern region of Thailand comprising 12 million population (Table1). Major gynecologic cancer operations account for 300-400 cases each year (Table 2&3).

 TABLE 1 : Gynecologic Oncology Registry : Chiang Mai University 1997-200

Cervix 547 (75.3) 483 (72.9) 497 (75.3) 502 (71.3) 500 (70.8)
Ovary 87 (12.0) 83 (12.5) 82 (12.4) 96 (13.6) 90 (12.7)
Corpus 48 (6.6) 47 (7.1) 49 (7.4) 56 (8.0) 63 (8.9)
Vulva 20 (2.7) 21 (3.2) 15 (2.2) 29 (4.1) 23 (3.3)
Vagina 11 (1.4) 10 (1.5) 2 (0.3) 9 (1.3)
Fallopian tube 0 2 (0.3) 6* (0.9) 5 (0.7) 3 (0.4)
Gestational trophoblastic tumors 14 (1.9) 16 (2.4) 8 (1.2) 13 (1.9) 18 (2.6)
Total 662 (100) 660 (100) 660 (100) 660 (100) 660 (100)
Site Number (%) Number (%) 1999 Number (%) 2000 Number (%)>) 2001 Number (%)

 TABLE 2 : Diagnostic Procedures and Operations for Cervical Cancer 1997-2001

Procedure & Operation 1997 1998 1999 2000 2001
Colposcopy 227 235 463 371 369
LEEP 61 35 166 207 194
Cervical Conization 66 65 79 13 14
Simple Hysterectomy for CIN 118 110 155 182 121
Wertheim Operation 55 77 113 120 116

TABLE 3 : Operations for Ovarian, Corpus and Vulvar Cancer 1997-2001

Operations 1997 1998 1999 2000 2001
Primary CRS for ovarian cancer 41 35 53 67 40
secondary CRS for ovarian cancer 17 3 7 3 5
Second look operation 6 5 4
Surgical staging for corpus CA 33 28 26 36 43
RV & BIL 10 16 5 13 5
CRS = Cytoreductive surgery RV & BIL = Radical vulvectomy & bilateral inguinal lymphadenectomy

FELLOWSHIP PERIOD

Two years (beginning of academic year: first of July each year)

TRAINING OBJECTIVES AND DESCRIPTION

The fellowship program in gynecologic oncology is designed to train young gynecologists to develop the skills necessary to practice gynecologic oncology. The 2-year program is clinically oriented and offers extensive experience in radical and conservative cancer operative procedures and related issues including medical and radiation oncology, palliative care and pain management. The fellows would acquire the skill and knowledge necessary to determine the most appropriate therapeutic regimen for each cancer patient. The fellows should be able to effectively integrate the principles, applications, and risks of the various alternative therapeutic modalities into a treatment plan appropriate for each patient.

EDUCATIONAL CURRICULUM

Year 1 :

The fellows spend 8 months on gynecologic oncology service. The fellows are responsible for preoperative and postoperative patient care and perform surgical procedures under supervision of an attending surgeon : Clinical training is also emphasized in the out patient department (OPD), where fellows are responsible for both new-patient evaluations and follow-up surveillance. Fellows are given training in several specialized clinics including colposcopy, LEEP, and cryosurgery. Fellows act as second assistant in the first half and as first assistant in the second half of first year training. The fellows must actively participate in regularly scheduled conferences including Morbidity and Mortality Conference, Gynecologic Oncology Conference, Journal Club, Gynecologic Radiation Oncology Conference, Gynecologic Medical Oncology Conference and Gynecologic Pathology Conference. Furthermore, the fellows are rotated to study in Gynecologic Cytology Unit (1 month), Gynecologic Pathology Unit (1 month), and Radiation Oncology Section (2 months).

Year 2 :

The second year fellows act primarily as consultants, moderators of the conference and manage the ward, OPD and perform the majority of the operative procedures. Fellows must be rotated to study in Medical Oncology Division and attend courses on clinical epidemiology and biostatistics. Every fellow is required to complete at least one clinical research project that is suitable for publication during their two years training.

CERTIFICATION

Upon satisfactory completion of the two-year Fellowship in Gynecologic Oncology, the fellow is eligible to sit for the written and oral examination of the Subcommittee Board on Gynecologic Oncology of the RTOG for a certificate of special competence in Gynecologic Oncology.

ELIGIBILITY

Applicants must have completed their core Residency Training in Obstetrics and Gynecology prior to beginning the gynecologic oncology fellowship. Physicians who will have completed a Residency Training in Obstetrics and Gynecology and will be qualified to sit for the Thai Board of Obstetrics and Gynecology written and oral examination are also eligible to apply for a fellowship position.

VISITTING FELLOWS

Fellows from overseas or other institutes in Thailand are also welcome for an elective course in a short period to study and exchange experiences.

HOW TO APPLY

Fellowship applications must be submitted via RTOG Office before March 31 of each year. Two letters of recommendation will be required, one of which should be from the director of the residency program. Selected applicants will be invited to Chiang Mai for a formal interview. Interviews take place over a half day and include participation of the entire staff. Applicants have the opportunity to tour the facility and to meet with the current fellows. The final selection of fellows is made by a joint meeting of all staff members. Two positions are available for fellowship each year.

Requests for applications and further information about the fellowship program should be directed to :

Associate Professor Jatupol Srisomboon, M.D.
Program Director of Gynecologic Oncology Fellowship
Department of Obstetrics & Gynecology
Faculty of Medicine, Chiang Mai University
Chiang Mai 50200, THAILAND. Telephone : 66-53-945552-4

Fax : 66-53-217144

E-mail : jsrisomb@mail.med.cmu.ac.th

Read More

Fellow Training

หลักสูตรอบรมต่อยอดสาขามะเร็งนรีเวช

Fellowship Training

1.   ชื่อหลักสูตร

การฝึกอบรมต่อยอดสาขามะเร็งวิทยานรีเวช
SUBSPECIALTY TRAINING IN GYNECOLOGIC ONCOLOGY

2.   หน่วยงานที่รับผิดชอบ

หน่วยมะเร็งวิทยานรีเวช ภาควิชาสูติศาสตร์และนรีเวชวิทยา   คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

3.  วัตถุประสงค์

       เพื่อให้แพทย์ที่ผ่านการฝึกอบรมแล้วมีความรู้ความชำนาญในสาขามะเร็งวิทยานรีเวชเป็นอย่างดี โดยอย่างน้อยจะต้อง        มีความรู้ความสามารถดังต่อไปนี้

  • ให้คำปรึกษา คำแนะนำเกี่ยวกับการป้องกันมะเร็งอวัยวะสืบพันธุ์สตรีได้
  • ดำเนินการตามขั้นตอนการวินิจฉัยผู้ป่วยมะเร็งอวัยวะสืบพันธุ์สตรีได้
  • ให้การรักษาผู้ป่วยมะเร็งอวัยวะสืบพันธุ์สตรี  รวมทั้งการป้องกันและการแก้ไขภาวะแทรกซ้อนต่างๆได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยการผสมผสานการรักษาแบบสหวิทยาการร่วมกับแพทย์ทางรังสีรักษา แพทย์ทางมะเร็งวิทยา และแพทย์ทาง
    พยาธิวิทยานรีเวช
  • มีทักษะในการทำผ่าตัดทางมะเร็งนรีเวชทั้งแบบกว้างและแบบอนุรักษ์
  • สามารถให้การรักษามะเร็งโดยใช้ยาเคมีบำบัดและแก้ไขภาวะแทรกซ้อนได้
  • สามารถตัดสินใจเลือกวิธีการรักษาที่เหมาะสมกับผู้ป่วยมะเร็งนรีเวชแต่ละราย
  • ทำหน้าที่สอนและให้คำปรึกษาแนะนำเกี่ยวกับปัญหาทางมะเร็งวิทยานรีเวชแก่แพทย์นักศึกษา บุคลากรทางสาธารณสุข และประชาชนทั่วไปได้เป็นอย่างดี
  • ประสานงานกับผู้อื่นทางด้านวิชาการ การบริการ และการบริหารอย่างมีประสิทธิภาพ
  • เข้าใจหลักการและสามารถทำการวิจัยทางมะเร็งวิทยานรีเวชได้
  • มีคุณธรรม จริยธรรม และเจตคติอันดีต่อผู้ป่วย  ญาติผู้ป่วย  ผู้ร่วมงาน  เพื่อนร่วมวิชาชีพ และชุมชน

4. โครงสร้างหลักสูตรและการจัดประสบการณ์ในการเรียนรู้

การฝึกอบรมจะใช้เวลา 2 ปี โดยเริ่มตั้งแต่เดือนมิถุนายน
ในปีแรกจะเน้นการฝึกฝนทักษะทางคลินิกร่วมกับการฝึกอบรม ในสาขาวิชาที่เกี่ยวข้องกับการดูแลผู้ป่วยมะเร็งอวัยวะสืบพันธุ์สตรี ได้แก่ สาขาวิชารังสีรักษา (radiation oncology)  สาขาวิชามะเร็งวิทยา (medical oncology) สาขาเซลล์วิทยานรีเวช  (gynecologic cytology) และสาขาวิชา พยาธิวิทยานรีเวช (gynecologic pathology)  และดำเนินการจัดประชุมอภิปรายระหว่างสาขาวิชา
ส่วนในปีที่ 2 ผู้รับการฝึก อบรมจะได้รับการฝึกฝนเพิ่มเติมในทักษะทางคลินิก และจะต้องทำวิจัยทางด้านมะเร็งวิทยานรีเวช ภายใต้การดูแลของอาจารย์ประจำหน่วย โดยรวมแล้วในช่วง 2 ปีของการฝึกอบรม ผู้เข้ารับ การฝึกอบรมจะต้องผ่านหน่วยงานต่าง ๆ ดังต่อไปนี้

  • ปฏิบัติงานด้านมะเร็งวิทยานรีเวช 18  เดือน
  • รังสีรักษา 2  เดือน
  • มะเร็งวิทยาทางอายุรศาสตร์ 1  เดือน
  • พยาธิวิทยาทางนรีเวช 1  เดือน
  • เซลล์วิทยาทางนรีเวช 1  เดือน
  • ระบาดวิทยา 1  เดือน

5. การประเมินผลและการสอบเพื่อประกาศนียบัตร

     ในระหว่างการฝึกอบรมจะมีการประเมินผลแบบ formative โดยดูจากการปฏิบัติงาน การมีส่วนร่วมใน journal club และ conferences ต่าง ๆ และเมื่อสิ้นสุดการฝึกอบรมในแต่ละชั้นปี จะมี summative evaluation โดยการสอบสัมภาษณ์ สอบข้อเขียนสอบภาคปฏิบัติ  และพิจารณาร่างโครงการวิจัยในปีที่ 1  และผลงานวิจัยในปีที่ 2
ผู้ที่ได้รับการฝึกอบรมแพทย์เฉพาะทางมะเร็งวิทยานรีเวชครบตามหลักสูตรแล้ว และเป็นผู้ที่ได้รับวุฒิบัตรหรืออนุมัติบัตร สาขาสูติศาสตร์และนรีเวชวิทยาจากแพทยสภาแล้วเท่านั้น    จึงจะมีสิทธิสมัครสอบ เพื่อประกาศนียบัตรสาขามะเร็ง วิทยานรีเวช ตามที่กำหนด   โดยราชวิทยาลัยสูตินรีแพทย์แห่งประเทศไทย

6. คุณสมบัติของผู้เข้ารับการฝึกอบรม

  •  เป็นผู้ได้รับวุฒิบัตรหรืออนุมัติบัตรสาขาสูติศาสตร์และนรีเวชวิทยาจากแพทยสภา
  • ผู้ที่ได้ผ่านการฝึกอบรมเป็นแพทย์ประจำบ้านสาขาสูติศาสตร์และนรีเวชวิทยาและอยู่ในระหว่างรอการสอบวุฒิบัตร
    สาขาสูติศาสตร์และนรีเวชวิทยา
  • ผู้ที่จบการศึกษาและฝึกอบรมจากต่างประเทศ ต้องผ่านการฝึกอบรมทางสูติศาสตร์และนรีเวชวิทยา และต้องได้รับวุฒิบัตร ก่อนสอบเพื่อประกาศนียบัตรสาขามะเร็งวิทยานรีเวช

7. กำหนดการเปิดสอน และจำนวนผู้เข้ารับการฝึกอบรม

การฝึกอบรมต่อยอดดังกล่าว ได้รับความเห็นชอบจากราชวิทยาลัยสูตินรีแพทย์แห่งประเทศไทยแล้ว เริ่มเปิดการฝึกอบรม ได้ในปีการศึกษา 2543 โดยรับผู้เข้ารับการฝึกอบรมได้ปีละ 2 คน

8. อาจารย์ผู้ทำการสอน

อาจารย์ประจำหน่วยมะเร็งวิทยานรีเวช

อาจารย์ คุณวุฒิ
ศ.นพ.จตุพล  ศรีสมบูรณ์
(หัวหน้าภาควิชาสูติศาสตร์และนรีเวชวิทยา)
วท.บ., พ.บ., ว.ว. (สูตินรีเวชฯ)  เกียรติบัตรสาขามะเร็งวิทยานรีเวช
Certificate in Gynecologic Oncology
(M.D. Anderson Cancer Center, Texas, USA. & National Cancer Center, Tokyo, Japan)
รศ.พญ.ประภาพร สู่ประเสริฐ
( หัวหน้าหน่วยมะเร็งวิทยานรีเวช)
พ.บ., ว.ว. (สูตินรีเวชฯ) ว.ว. (มะเร็งนรีเวช)
อ.นพ.ชัยเลิศ พงษ์นริศร พ.บ., ว.ว. (สูตินรีเวชฯ) อ.ว. (มะเร็งนรีเวช)
ผศ.นพ.ฉลอง ชีวเกรียงไกร พ.บ., ว.ว. (สูตินรีเวชฯ) ว.ว. (มะเร็งนรีเวช)
ผศ.นพ.กิตติภัต เจริญขวัญ พ.บ., ว.ว. (สูตินรีเวชฯ) อ.ว. (มะเร็งนรีเวช)
อ.นพ.สิทธิชา สิริอารีย์ พ.บ., ว.ว. (สูตินรีเวชฯ) ว.ว. (มะเร็งนรีเวช)
อ.พญ.จารุวรรณ ตันติผลากร พ.บ., ว.ว. (สูตินรีเวชฯ) ว.ว. (มะเร็งนรีเวช)
อ.นพ.ชำนาญ เกียรติพีระกุล พ.บ., ว.ว. (สูตินรีเวชฯ) ว.ว. (มะเร็งนรีเวช)

อาจารย์ประจำสาขาที่เกี่ยวข้องในการฝึกอบรม

หน่วยรังสีรักษา ภาควิชารังสีวิทยา

อาจารย์ คุณวุฒิ
รศ.นพ.วิชาญ  หล่อวิทยา
(หัวหน้าหน่วยรังสีรักษา)
วท.บ., พ.บ.,
Diplomate American Board of Therapeutic
Radiology and Oncology
ศ.พญ.วิมล  สุขถมยา วท.บ., พ.บ., ว.ว. (รังสีวิทยา)
ผศ.พญ.อิ่มใจ  ชิตาพนารักษ์ พ.บ., ว.ว. (รังสีรักษา)
อ.พญ.พิมขวัญ กำเนิดศุภผล พ.บ., ว.ว. (รังสีรักษา)
อ.นพ.เอกสิทธิ์ ธราวิจิตรกุล พ.บ., ว.ว. (รังสีรักษา)

หน่วยมะเร็งวิทยา ภาควิชาอายุรศาสตร์

อาจารย์ คุณวุฒิ
รศ.พญ.สุมิตรา  ทองประเสริฐ
(หัวหน้าหน่วยมะเร็งวิทยา)
วท.บ., พ.บ., ว.ว. (อายุรศาสตร์) อ.ว. (มะเร็งวิทยา)
Certificate in Hematology-Oncology
(Memorial Sloan-Kettering Cancer Center,
New York, USA.)
ผศ.นพ.ชัยยุทธ เจริญธรรม พ.บ.  Diplomate

หน่วยพยาธิวิทยานรีเวช ภาควิชาพยาธิวิทยา

อาจารย์  คุณวุฒิ
รศ.พญ.สุมาลี  ศิริอังกุล
(หัวหน้าหน่วยพยาธิวิทยานรีเวช)
วท.บ., พ.บ., ว.ว. (พยาธิวิทยากายวิภาค)
Fellow in Gynecologic Pathology
(Armed Forces Institute of Pathology,
Washington, D.C., USA.)
รศ.นพ.สุรพันธุ์  คุณอมรพงศ์ พ.บ., ว.ว. (พยาธิวิทยากายวิภาค)
Fellow in Gynecologic Pathology
(Royal Prince Alfred Hospital, Sydney,
Australia)

หน่วยเซลล์วิทยา  ภาควิชาพยาธิวิทยา

อาจารย์ คุณวุฒิ
รศ.นพ.สำเริง  รางแดง พ.บ., อนุมัติบัตร (พยาธิวิทยากายวิภาค)
Diplomate American Board of Anatomic
and Clinical  Pathology
Diplomate American Board of Pathology
Added Qualification in Cytopathology
รศ.พญ.เบญจพร  ไชยวรรณ พ.บ., ว.ว. (พยาธิวิทยากายวิภาค)
Certificate in Immunocytochemistry
(U. of Southern California)

ภาควิชาศัลยศาสตร์

อาจารย์ คุณวุฒิ
รศ.นพ.สุมิตร  อนุตระกูลชัย พ.บ., ว.ว. (ศัลยศาสตร์ยูโรวิทยา)
ผศ.นพ.สุริธร  สุนทรพันธ์ พ.บ., ว.ว. (ศัลยศาสตร์ยูโรวิทยา)
ศ.นพ.บรรณกิจ  โลจนาภิวัฒน์ พ.บ., ว.ว. (ศัลยศาสตร์ยูโรวิทยา)
อ.นพ.ศุภณ  ศรีพลากิจ พ.บ., ว.ว. (ศัลยศาสตร์ยูโรวิทยา)
อ.นพ.ศิวัฒน์  ภู่ริยะพันธ์ พ.บ., ว.ว. (ศัลยศาสตร์ยูโรวิทยา)
อ.นพ.สมเจริญ  แซ่เต็ง พ.บ., ว.ว. (ศัลยศาสตร์ทั่วไป)
ผศ.นพ.นเรนทร์ โชติรสนิรมิต พ.บ., ว.ว. (ศัลยศาสตร์ทั่วไป)

อาจารย์ที่ปรึกษาทางระบาดวิทยา ภาควิชาสูติศาสตร์และนรีเวชวิทยา

อาจารย์ คุณวุฒิ
รศ.พญ.สังวาลย์  รักษ์เผ่า พ.บ., ป.ชั้นสูง สูตินรีเวชฯ
M.Sc. in Medical Demography
(U. of London, U.K.)
รศ.นพ.ธีระพร  วุฒยวนิช พ.บ., ว.ว. (สูตินรีเวชฯ)
M.Sc. in Clinical Epidemiology
(McMaster University, Canada)
M. Med. Sci. in A.R.T.
(Nottingham, U.K.)
คุณรุ่งอรุณ  เศรษฐบุตร วทบ. (พยาบาลและผดุงครรภ์)
วทม. (จิตวิทยาการปรึกษา)
คุณสุกัญญา  ยะนันโต วทบ. (พยาบาลและผดุงครรภ์)
วทม. (ชีวสถิติ)

อาจารย์พิเศษ

อาจารย์ คุณวุฒิ
Tomoyasu Kato, M.D. Fellow in Gynecologic Oncology
(National Cancer Center, Tokyo)
Kazuhide Hida M.D. Fellow in Gynecologic Oncology
(National Cancer Center, Tokyo)
อ.นพ.ฉันทวัฒน์  เชนะกุล พ.บ., ว.ว. (สูตินรีเวชฯ) เกียรติบัตรสาขามะเร็งวิทยานรีเวช
(โรงพยาบาลวัฒโนสถ)

9.   ข้อมูลเกี่ยวกับสถาบันฝึกอบรม

             คณะแพทยศาสตร์มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ เป็นโรงเรียนแพทย์แห่งเดียว ในภาคเหนือตอนบน มีลักษณะเฉพาะที่สำคัญคือ มีโรงพยาบาลมหาราชนครเชียงใหม่ซึ่งเป็นโรงพยาบาลศูนย์ขนาด ใหญ่ที่สุดในภาคเหนืออยู่ในความรับผิดชอบ  ในปัจจุบัน มีเตียง รับผู้ป่วย 1,800 เตียง  บริการผู้ป่วยนอก 455,510 คนต่อปี  และผู้ป่วยใน 45,218 คนต่อปี  มีสถานที่  อุปกรณ์การแพทย์และ ห้องสมุดที่ทันสมัย มีบริการ on-line CD-ROM และ internet จึงเป็นสถาบันที่ให้การฝึกอบรมแพทย์ประจำบ้าน (residency  training) ในหลายสาขาเช่น อายุรศาสตร์  กุมารเวชศาสตร์ศัลยศาสตร์ สูตินรีเวช พยาธิวิทยา รังสีวิทยา จักษุวิทยา วิสัญญีวิทยา ฯลฯ และยังเป็นสถาบัน  ที่ให้การฝึกอบรมแพทย์เฉพาะทางในอนุสาขา (subspecialty training) ต่าง ๆ  ผู้ป่วยที่มาใช้ บริการ มีทั้งผู้ป่วยในจังหวัดเชียงใหม่ ซึ่งมีประชากร 1.5 ล้านคน และผู้ป่วยที่ได้รับการส่ง ต่อมาจาก 17 จังหวัดในภาคเหนือตอนบน ซึ่งมี ประชากรประมาณ 12 ล้านคน   ส่วนใหญ่เป็นผู้ป่วยที่มีปัญหาซับซ้อนในการวินิจฉัยและการรักษา
ภาควิชาสูติศาสตร์และนรีเวชวิทยา คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่    มี คณาจารย์ประจำ 27 คน  อาจารย์พิเศษ 5 คน  แพทย์ชดใช้ทุนและแพทย์ประจำบ้าน 30 คน ให้บริการในด้านการเรียนการสอน การวิจัย และการตรวจ รักษา ผู้ป่วยทาง สูตินรีเวชทั่วไป และในอนุสาขาต่าง ๆ เช่น มะเร็งนรีเวช เวชศาสตร์มารดาและทารก    และเวชศาสตร์การ เจริญพันธุ์
ในด้านการตรวจรักษาผู้ป่วยมะเร็งอวัยวะสืบพันธุ์สตรี มีผู้ป่วยมะเร็งรายใหม่มารับบริการ ปีละประมาณ 700 ราย ซึ่ง
75 % เป็นผู้ป่วยมะเร็งปากมดลูก  ดังรายงานใน annual report
ทางหน่วยมะเร็งวิทยานรีเวช มีอาจารย์ประจำหน่วย 8 คน  พยาบาลวิจัย (research nurse) 1 คน และผู้ช่วยวิจัยอีก 1 คน  หอผู้ป่วยมะเร็งนรีเวชมีพยาบาลประจำการ (general nurse) 11 คน  ผู้ช่วยพยาบาล (practical nurse)  9 คน  และพนักงาน ช่วยการพยาบาล (nurse aid) 6 คน มีเตียงผู้ป่วยใน 28 เตียง  เตียงเสริมประจำ 12 เตียง  ห้องตรวจผู้ป่วยนอกสำหรับมะเร็ง นรีเวชมีเตียงตรวจภายใน 7 เตียง  กล้องคอลโปสโคปแบบวิดีทัศน์ (video colposcope) 1 กล้องพร้อมจอทีวีมอนิเตอร์ 2 จอ  และเครื่องถ่ายภาพสีจากคอลโปสโคป  (color printer) 1 เครื่องมีกล้องคอลโปสโคปสองตา (binocular colposcope) อีก 1 กล้อง  ชุดรักษาด้วยความเย็น (cryosurgery set) 1 ชุด  ชุดตัดปากมดลูกด้วยห่วงไฟฟ้า หรือ loop electrosurgical excision procedure (LEEP) 2 ชุด  ห้องตรวจผู้ป่วยในมะเร็งนรีเวช มีกล้องคอลโปสโคป 2 ตา 1 กล้อง และชุดตัดปากมดลูก ด้วยห่วงไฟฟ้า อีก 1 ชุด

สำหรับหัตถการเพื่อการวินิจฉัยและการผ่าตัดทางมะเร็งนรีเวช มีดังนี้ :

  • การตรวจปากมดลูกด้วยกล้องคอลโปสโคป (colposcopy) ปีละประมาณ 300-600 ราย
  • การตัดปากมดลูก ด้วยห่วงไฟฟ้า (LEEP) ปีละประมาณ 200-300 ราย
  • การผ่าตัดปากมดลูกออกเป็นรูปกรวย (conization) ปีละประมาณ 10-60 ราย
  • การผ่าตัดมดลูกออกแบบธรรมดา (simple hysterectomy)  สำหรับมะเร็งปากมดลูกก่อนระยะ ลุกลาม (preinvasive) ปีละประมาณ 100-150 ราย
  • การผ่าตัด radical hysterectomy  สำหรับมะเร็งปากมดลูกระยะลุกลาม (invasive cervical cancer) ปีละ 100-150 ราย ดังในตารางที่ 1

ตารางที่ 1 จำนวนหัตถการเพื่อการวินิจฉัยและการผ่าตัดสำหรับมะเร็งปากมดลูก พศ. 2540-2549

หัตถการและการผ่าตัด  พศ.2540  พศ.2541 พศ.2542 พศ.2543 พศ.2544 พศ.2545 พศ.2546 พศ.2547 พศ.2548 พศ.2549
Colposcopy
227
235
463
371
369
306
357
399
499
627
LEEP
61
35
166
207
194
221
380
276
261
309
Cervical Conization
66
65
79
13
14
22
16
9
10
5
Simple Hysterectomy for CIN
118
110
155
182
121
89
43
35
52

55

Wertheim Operation
55
77
113
120
116
135
150
151
149
143
Laparoscopic Radical Hysterectomy
4
18
21

* Radical hysterectomy & pelvic lymphadenectomy
ที่มา :   รายงานประจำปี พ.ศ. 2540 – 2549 หน่วยมะเร็งวิทยานรีเวชภาควิชาสูติศาสตร์และนรีเวชวิทยา
คณะแพทยศาสตร์  มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

ตารางที่ 2  จำนวนการผ่าตัดสำหรับมะเร็งรังไข่ มะเร็งตัวมดลูกและมะเร็งปากช่องคลอด พ.ศ. 2540-2549

การผ่าตัด
 พศ.2540
 พศ.2541
 พศ.2542
 พศ.2543
 พศ.2544
พศ.2545
พศ.2546
พศ.2547
พศ.2548
พศ.2549
Primary CRS for Ovarian cancer
41
35
53
67
40
59
70
65
65
96
Secondary CRS for Ovarian cancer
17
3
7
3
5
10
11
11
9
11
Primary CRS for Fallopian tube cancer
3
1
3
2
3
2
3
Primary CRS for Peritoneal cancer
1
5
3
4
1
Surgical Staging for corpus CA
33
28
26
36
43
39
47
60
75
53
RV & BIL
10
16
5
13
7
11
7
3
4
4

* RV & BIL = Radical vulvectomy & bilateral inguinal lymphadenectomy

Read More

About Us

Gynecologic Oncology

Faculty of Medicine Chiang Mai University, THAILAND


อาจารย์และบุคคลากรประจำหน่วย

A Sethawat
A Dhammapoj
A Rattiya

รศ.นพ. กิตติภัต เจริญขวัญ หัวหน้าหน่วย

อาจารย์แพทย์

  1. ศ.นพ. จตุพล ศรีสมบูรณ์ (อ. พิเศษ)
  2. รศ.พญ.ประภาพร สู่ประเสริฐ
  3. รศ.นพ. กิตติภัต เจริญขวัญ  หัวหน้าหน่วย
  4. ผศ.นพ. ฉลอง ชีวเกรียงไกร
  5. ผศ.นพ. สิทธิชา สิริอารีย์
  6. รศ. พญ. จารุวรรณ ตันติพลากร
  7. ผศ.นพ. มนัสวี มโนปัญญา
  8. อ.นพ. เศรษฐวัฒก์ เศรษฐเสถียร
  9. อ.นพ. ธรรมพจน์ จีรกรภาสวัฒน์
  10. อ.พญ. รัฐิยา เพียรพิเศษ
  11. อ. พญ. ธัญวิภา ทัศน์เจริญพร

พยาบาล

  1. นางสาวสุกัญญา ยะนันโต
  2. นางนริสา ศรีบัณฑิตมงคล

ผู้ช่วยวิจัย

นส. อรทัย ใบใส

Read More