รายการการผ่าตัดและการทำสูติศาสตร์หัตถการของแพทย์ประจำบ้าน

 แพทย์ประจำบ้านปีที่ 1

1.  สูติกรรม

            –  ทำคลอดปกติทั้งครรภ์แรกและครรภ์หลัง  รวมทั้งการคลอดรกอย่างถูกวิธี

–  เย็บซ่อมแซมฝีเย็บ (perineorrhaphy) ทั้งแบบ median และ mediolateral อย่างถูกต้องตามลำดับชั้นทางกายวิภาค

–  เย็บซ่อมแซมฝีเย็บที่ฉีกขาดถึงทวารหนัก และ anus ได้อย่างถูกต้องตามลำดับชั้น ทางกายวิภาค

–  ทำ pudendal block

–  เย็บซ่อมแผลฝีเย็บแยก (disrupted episiotomy wound)

–  ตรวจหาและเย็บซ่อมการฉีกขาดของปากมดลูกและผนังช่องคลอด

–  ดูแลการชักนำการคลอด (labor induction) รวมทั้งการเจาะถุงน้ำ (artificial rupture of the membranes)

–  ทำการกดบีบมดลูกด้วย 2 มือ (bimanual uterine compression)

–  ทำหมันหญิงหลังคลอด (abdominal tubal resection, ATR)

-* ทำการล้วงรกด้วยมือ (manual removal of placenta)

-* ช่วยคลอดศีรษะทารกด้วยคีมดึงชนิด low หรือ outlet forceps extraction

-* ทำคลอดทารกด้วยเครื่องดูดสุญญากาศ (vacuum extraction delivery)

-* ทำคลอดทารกท่าก้นแบบ breech assisting ในครรภ์หลัง

-* หลังจากช่วยการผ่าท้องทำคลอด (cesarean section) อย่างน้อย 20 ราย และแพทย์อาวุโสประเมินแล้วว่าสามารถทำผ่าตัดดังกล่าวได้ จะมีโอกาสทำ primary cesarean section ในทารกท่าปกติ

*  =   มีแพทย์อาวุโสควบคุมดูแลอย่างใกล้ชิด

2.  นรีเวชกรรม

–   ตรวจภายในผู้ป่วยโรคนรีเวชทั่ว ๆ ไป

–   ทำ Papanicolaou smear, Wet smear, Grams stain, Whiff test

–   ทำ vaginal packing เพื่อห้ามเลือดที่ออกจากมะเร็งปากมดลูก

–   ทำ cervical punch biopsy

–   ทำการจี้ด้วยสารเคมี เช่น podophyllin และ silver nitrate

–   ทำ incision and drain หรือ open and drain ในรายที่เป็น abscess หรือ hematoma

–   ทำ polypectomy

–   ทำ paracervical block

–   ทำ dilatation and curettage (D & C) ในรายแท้งไม่ครบ ที่ไม่ติดเชื้อ หรือในราย เพื่อการวินิจฉัยสตรีที่มีเลือดออกผิดปกติจากโพรงมดลูก

–   ทำ fractional curettage

–   ใส่ห่วงอนามัย (IUD) และยาฝังคุมกำเนิด (norplant)

–   ทำ cruciate incision หรือ hymenectomy

-*  ทำ culdocentesis

-*  ทำผ่าตัด salpingectomy และ salpingo-oophorectomy

-*  ทำผ่าตัด ovarian cystectomy

-*  หลังจากช่วยผ่าตัด total abdominal hysterectomy (TAH) อย่างน้อย 20 ราย และแพทย์อาวุโสประเมินแล้วว่าสามารถทำผ่าตัดดังกล่าวได้  จะมีโอกาสได้

ทำ TAH ที่ไม่ซับซ้อน 1 ข้าง

*  =  มีแพทย์อาวุโสควบคุมดูแลอย่างใกล้ชิด

แพทย์ประจำบ้านปีที่ 2

1.   สูติกรรม

–   ทำคลอดทารกท่าหน้า (face presentation)

–   ทำคลอดทารกท่าก้นแบบ breech assisting

–   ดูแลและทำคลอดครรภ์แฝดตัวแรก

-*  ทำคลอดทารกด้วยการหมุนและดึงด้วยคีม (mid forceps extraction)

-*  ทำ prinary cesarean section สำหรับทารกท่าผิดปกติ เช่น ทารกท่าก้น ท่าขวาง

ท่าแหงนหน้า OPP ท่าหน้า หรือในรายที่มี placenta previa

-*  ทำ repeat cesarean section

-*  ทำ classical cesarean section

*  =  มีแพทย์อาวุโสควบคุมดูแลอย่างใกล้ชิด

 2.  นรีเวชกรรม

–   ทำ dilatation and curettage (D & C) ในราย septic abortion, missed abortion และ therapeutic abortion

–   ทำ suction curettage ในรายครรภ์ไข่ปลาอุก

–   เย็บซ่อมแซมการฉีกขาดของ posterior fornix

-*  ทำ suprapubic tubal resection (STR)

-*  ทำ laparoscopic examination

-*  ทำ laparoscopic tubal resection (LTR)

–   ทำ anterior colporrhaphy and posterior colpoperineorrhaphy (AP repair)

–   เย็บ Kelly stitch or plication

–   ทำผ่าตัด total abdominal hysterectomy (TAH)

–   หลังจากช่วย vaginal hysterectomy แล้วประมาณ 20 ราย และแพทย์อาวุโสประเมินแล้วว่าสามารถทำผ่าตัดดังกล่าวได้ อาจมีโอกาสได้ทำ  vaginal hysterectomy

–   ทำผ่าตัดซ่อมแซม rectovaginal fistula

–   ทำ cold knife conization (CKC) และ Sturmdorf stitch

*  =  มีแพทย์อาวุโสควบคุมดูแลอย่างใกล้ชิด

แพทย์ประจำบ้านปีที่ 3

 

1.  สูติกรรม

–   ทำผ่าตัด repeat cesarean section ทั้ง elective และ emergency

–   ทำผ่าตัด cesarean hysterectomy

-*  ทำคลอดครรภ์แฝดที่ต้องใช้สูติศาสตร์หัตถการทุกรูปแบบ

-*  ทำ external cephalic version

-*  ทำ internal podalic version

-*  ทำ total breech extraction

-*  ทำคลอด aftercoming head ด้วย Piper forceps

-*  ทำผ่าตัด McDonald หรือ Shirodkar operation

-*  ทำการตรวจด้วย ultrasound, การทำ NST, CST, BPP, intrapartum FHR

monitoring

-*  ทำ  prenatal diagnosis เช่น amniocentesis, cordocentesis, CVS ฯลฯ

*  =  มีแพทย์อาวุโสควบคุมดูแลอย่างใกล้ชิด

2. นรีเวชกรรม

–   ทำผ่าตัด myomectomy

-*  ทำผ่าตัด exploratory laparotomy

–   ทำ laparoscopic examination และ LTR

-*  ทำ cryosurgery และ loop electrosurgical excision procedure (LEEP)

-*  ทำ colposcopic examination

–   ทำผ่าตัด vaginal hysterectomy

-*  ทำผ่าตัด Manchester operation

-*  ทำผ่าตัด simple vulvectomy

-*  ทำผ่าตัด tuboplasty, fimbrioplasty และ salpingostomy

-*  ทำผ่าตัด vaginoplasty

-*  ทำผ่าตัด pelvic node sampling

–   ช่วยทำผ่าตัดซ่อมแซม vesico-vaginal fistula

–   ช่วยทำผ่าตัด Wertheim operation และ radical vulvectomy & groin node dissection

–   ช่วยทำผ่าตัดแก้ไข congenital anomaly ของมดลูก เช่น Strassman operation

–   ช่วยทำผ่าตัดแก้ไข urinary stress incontinence เช่น Marshall-Machetti-Krantz  operation

*  =  มีแพทย์อาวุโสควบคุมดูแลอย่างใกล้ชิด