• งานบริหารงานวิจัย ชั้น 3 อาคารเรียนรวม
  • 053-935149 053-935189
  • ให้บริการ 08.30 น. - 16.30 น.
จริยธรรมในสัตว์
  • หน้าหลัก
  • ข่าว /ประกาศ
  • ทุน
  • จริยธรรม /มาตรฐานการวิจัย
    • จริยธรรมวิจัยในมนุษย์
    • จริยธรรมวิจัยในสัตว์
    • หน้าหลักความปลอดภัยทางด้านชีวภาพ
  • การสนับสนุน
    • ค่าตอบแทน/ค่าตีพิมพ์
    • การเสนอผลงานต่างประเทศ
    • บริการตรวจ Manuscript
  • นวัตกรรม
    • MEDCHIC
    • ทรัพย์สินทางปัญญา
      • การยื่นขอรับสิทธิบัตร-อนุสิทธิบัตร
    • ย่านนวัตกรรมการแพทย์สวนดอก (SMID)
  • วิจัยแนวหน้า
    • Global Health Research Center CMU
    • ศูนย์วิจัยและฝึกอบรมสาขาโรคทางไฟฟ้าหัวใจ (CERT)
    • ศูนย์บูรณาการเทคโนโลยีการแพทย์ทันสมัย
    • ศูนย์วิจัยทางคลินิกเพื่อทดสอบและพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหารและสมุนไพร
    • Research Clusters /Center /Fellow
  • แนะนำการวิจัย
    • คลินิกวิจัย
    • สถิติ
    • การวิเคราะห์ข้อมูล
  • เกี่ยวกับเรา
    • จริยธรรมในสัตว์
    • หน่วยจริยธรรมวิจัยในมนุษย์
    • ศูนย์เครื่องมือวิจัย
    • บุคลากร
  • หน้าหลัก
  • ข่าว /ประกาศ
  • ทุน
  • จริยธรรม /มาตรฐานการวิจัย
    • จริยธรรมวิจัยในมนุษย์
    • จริยธรรมวิจัยในสัตว์
    • หน้าหลักความปลอดภัยทางด้านชีวภาพ
  • การสนับสนุน
    • ค่าตอบแทน/ค่าตีพิมพ์
    • การเสนอผลงานต่างประเทศ
    • บริการตรวจ Manuscript
  • นวัตกรรม
    • MEDCHIC
    • ทรัพย์สินทางปัญญา
      • การยื่นขอรับสิทธิบัตร-อนุสิทธิบัตร
    • ย่านนวัตกรรมการแพทย์สวนดอก (SMID)
  • วิจัยแนวหน้า
    • Global Health Research Center CMU
    • ศูนย์วิจัยและฝึกอบรมสาขาโรคทางไฟฟ้าหัวใจ (CERT)
    • ศูนย์บูรณาการเทคโนโลยีการแพทย์ทันสมัย
    • ศูนย์วิจัยทางคลินิกเพื่อทดสอบและพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหารและสมุนไพร
    • Research Clusters /Center /Fellow
  • แนะนำการวิจัย
    • คลินิกวิจัย
    • สถิติ
    • การวิเคราะห์ข้อมูล
  • เกี่ยวกับเรา
    • จริยธรรมในสัตว์
    • หน่วยจริยธรรมวิจัยในมนุษย์
    • ศูนย์เครื่องมือวิจัย
    • บุคลากร
  • เกี่ยวกับการใช้สัตว์ทดลอง
  • ขั้นตอนและแบบฟอร์มการขอจริธรรมในสัตว์
  • ความรู้เกี่ยวกับสัตว์ทดลอง

เกี่ยวกับการใช้สัตว์ทดลอง

  • คณะกรรมการกำกับดูแลการเลี้ยงและการใช้สัตว์ทดลอง

  • วิธีดำเนินการมาตรฐาน (Standard Operating Procedures) ของคณะกรรมการฯ เริ่มใช้ 1 ก.ค.53

    • รายการ SOPs
    • รายการ Annex forms (AF)
  • จรรยาบรรณการใช้สัตว์ สภาวิจัยแห่งชาติ พ.ศ. 2542

    • การแก้ไขเพิ่มเติม
  • พ.ร.บ.สัตว์เพื่องานทางวิทยาศาสตร์ พ.ศ.2558

ขั้นตอนและแบบฟอร์มการขอจริธรรมในสัตว์

  • แบบฟอร์มการขอรับการพิจารณาจรรยาบรรณการใช้ซากสัตว์ทดลอง/ชิ้นตัวอย่างจากสัตว์ทดลอง

  • แบบฟอร์มขออนุมัติใช้สัตว์เพื่องานเรียนงานสอน AF01-008

  • แบบฟอร์มขออนุมัติใช้สัตว์เพื่องานวิจัย AF01-009

    • ข้อแนะนำในการกรอกแบบฟอร์ม

  • แบบฟอร์มขออนุมัติส่วนแก้ไขเพิ่มเติมโครงการวิจัย AF01-011

  • แบบฟอร์มขอต่ออายุใบอนุมัติ AF01-012

  • แบบฟอร์มรายงานสิ้นสุดโครงการ AF01-013

  • แบบฟอร์มรายงานการยุติโครงการก่อนกำหนด AF01-015

ความรู้เกี่ยวกับสัตว์ทดลอง

  • สถาบันพัฒนาการดำเนินการต่อสัตว์เพื่องานทางวิทยาศาสตร์ (สพสว.)

  • Association for Assessment and Accreditation of Animal Care

  • Institute for Laboratory Animal Research, National Academy of Science, USA

งานบริหารงานวิจัย คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 110 ถนนอินทวโรรส ตำบลศรีภูมิ อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ 50200

Researchmed@cmu.ac.th , Research.med.cmu@gmail.com
- งานบริหารงานวิจัย 053-935189, 053-935149, 053-936209, 053-935279
- หน่วยทุนวิจัย (ทุนภายใน ต่อ 11) (ทุนภายนอก ต่อ 17) (ค่าตอบแทน ต่อ 19)
- คลินิกวิจัย (ปรึกษาสถิติ ต่อ 12) (ข้อมูลผลงานตีพิมพ์ ต่อ 15 )
- กลุ่มวิจัย Cluster ต่อ 18
- นวัตกรรม ต่อ 13
- ROS,REDCap ต่อ 14
- สำนักงานจริยธรรมวิจัยในมนุษย์ 053-936641 ต่อ 22,23
- หน่วยจริยธรรมวิจัยในสัตว์ 053-935189 ต่อ 21
- ศูนย์เครื่องมือวิจัยทางวิทยาศาสตร์การแพทย์ 053-936219, 053-936221

© 2021 Research Administration Section All right reserved. | Design by Research MED CMU

  • หน้าหลัก
  • ข่าว /ประกาศ
  • ทุน
  • จริยธรรม /มาตรฐานการวิจัย
  • การสนับสนุน
  • นวัตกรรม
  • วิจัยแนวหน้า
  • แนะนำการวิจัย
  • เกี่ยวกับเรา

– รายชื่อกรรมการชุดที่ 4 ( Medical Device) ภาษาไทย
– รายชื่อกรรมการชุดที่ 4 ( Medical Device) ภาษาอังกฤษ

คณะกรรมการจริยธรรมการวิจัย (full board review)

       – รายชื่อคณะกรรมการ ชุดที่ 1, 2, 3 ภาษาไทย
       – รายชื่อคณะกรรมการ ชุดที่ 1, 2, 3 ภาษาอังกฤษ

คณะกรรมการจริยธรรมการวิจัย (Expedited and Alternative)

– รายชื่อคณะกรรมการ ชุดที่ 5 ภาษาไทย
– รายชื่อคณะกรรมการ ชุดที่ 5 ภาษาอังกฤษ

การประชุม

  • องค์ประชุม
    – จำนวนผู้เข้าร่วมประชุมไม่น้อยกว่ากึ่งหนึ่ง
    – อย่างน้อย 2 คนเป็นแพทย์
    – อย่างน้อย 1 คนเป็น non-medical/non-scientific member
    – อย่างน้อย 1 คน เป็น non-affiliated member

R Program และ RStudio Training VDOs

– MAbyMetaClip1

– MAbyMetaClip2

– MAbyMetaClip3

Download R program และ RStudio ดังนี้
1. R Program Download ที่ http://mirrors.psu.ac.th/pub/cran/
สำหรับท่านที่ใช้ MacOS เลือก Download R for (Mac) OS X
สำหรับท่านที่ใช้ Window เลือก Download R for Windows
เลือก Binaries for base distribution. This is what you want to install R for base the first time
2. RStudio download ที่ https://rstudio.com/products/rstudio/download/
เลือก RStudio Desktop (free)
3. เปิด R Program หรือ RStudio แล้ว install meta package (หากทำไม่ได้ สามารถมา install ในห้องอบรมได้)

Data for Training

หลังจาก install ทั้ง 2 โปรแกรมแล้ว เมื่อนำ r.script.demo.R และ data.xlxs เข้าระบบแล้ว จะสามารถ run script ได้
* รายละเอียดการใช้งานดูได้จาก 3 clips (รวมเวลา 1+ ชม.)
* readme.text
* r.script.demo.R
* data.xlxs
RevMan Training VDOs & Materials

– Clip 1 New Review&Addstudy+Intro

– Clip 2 Add Comparisons

– Clip 3 Add Subgroups&study.

– Clip 4 Add Data and Savefigures

– 2015JPsychRes_ARI+CLO_Ex

– Data for Jamovi

– RevMan 5 Training Video Script

 

พันธกิจและวัตถุประสงค์
คณะกรรมการจริยธรรมการวิจัยเป็นคณะกรรมการ ที่จะดูแลให้การวิจัยที่เกี่ยวข้องกับมนุษย์เป็นตัวอย่างวิจัย (research subjects) ที่ดำเนินการในคณะแพทยศาสตร์ หรือดำเนินการโดยบุคลากรของคณะแพทยศาสตร์ หรือ ดำเนินการโดยบุคลากรสถาบันสมทบ เป็นไปอย่างถูกต้องตามหลักจริยธรรมสากล คณะกรรมการจริยธรรมการวิจัยสามารถตัดสินใจโดยอิสระ ปราศจากอคติอันเนื่องมาจากระบบบริหาร นักวิจัย หรือผู้อุปถัมภ์ และคณะกรรมการจริยธรรมวิจัยจะดำเนินการตามพันธกิจโดยมีวัตถุประสงค์ดังนี้
๑.๑ เพื่อปกป้องสิทธิ และสวัสดิภาพของผู้เข้าร่วมโครงการวิจัยจากภยันตรายอันเนื่องมาจากการวิจัย
๑.๒ เพื่อมั่นใจว่าการวิจัยที่เกี่ยวข้องกับมนุษย์ มีคุณค่าเชิงวิชาการและถูกต้องตามหลักจริยธรรมสากล
๑.๓ เพื่อมั่นใจว่าการวิจัยที่กำลังดำเนินอยู่ยังคงมีความเหมาะสมทางจริยธรรม
๒. กรอบวัตถุประสงค์
คณะกรรมการจริยธรรมจะดำเนินการตามวัตถุประสงค์ดังนี้
๒.๑ พิจารณาให้ความเห็นชอบเชิงจริยธรรมต่อโครงการวิจัยโดยอาศัยหลักจริยธรรมพื้นฐานได้แก่
(ก) การเคารพในสิทธิและศักดิ์ศรีของผู้เข้าร่วมโครงการวิจัย (respect for persons)
(ข) ประโยชน์ (beneficence), และ
(ค) ความเป็นธรรม (justice)
๒.๒ ให้คำปรึกษาแนะนำแก่บุคลากรของคณะ สถาบันสมทบ หรือสาธารณชนเกี่ยวกับเนื้อหาที่เกี่ยวข้องกับจริยธรรมการวิจัย
๒.๓ ส่งเสริมการศึกษาด้านจริยธรรมการวิจัยกับบุคลากรด้านการวิจัยของคณะแพทยศาสตร์ และสถาบันสมทบ