RESEARCH IDEA RESEARCH STANDARD Lab Safety Ethics Committee Expedited Full Board Exemption Animal Committee Full Board Biosafety CMU-IBC02 BSL-1 BSL-2 RESEARCH FUND RESEARCH SUPPORT MSREC Manuscript Innovation International Presentaion Copy Right Thailand Innovation List Year Patent INNOVATION REWARD & RESEARCH JIF Page Charge Article JIF Reward
×

ขั้นตอนขอพิจารณาเร่งด่วนด้านจริยธรรมวิจัยในมนุษย์ (Expedited review)

ขั้นตอนที่ 1

กรอกข้อมูลในแบบฟอร์มและแนบไฟล์เอกสารในระบบ
ROS การยื่นขอโครงการใหม่
ส่งโครงการวิจัยมายังสำนักงานจริยธรรมวิจัย โทร 36643 จำนวน 1 ชุด

ขั้นตอนที่ 2

เลขานุการ REC4
- ตรวจสอบว่าเข้าเกณฑ์ตามประกาศคณะ ฯ เรื่อง
"กำหนดแนวทางการดำเนินการของ
คณะกรรมการจริยธรรมการวิจัย"

ขั้นตอนที่ 3

โครงการเข้าเกณฑ์ ส่งประธาน REC 4 พิจารณา
เห็นชอบ/เห็นชอบหลังปรับปรุงตาม ข้อเสนอแนะ

ขั้นตอนที่ 4

โครงการไม่เข้าเกณฑ์/ไม่เห็นชอบ เกิน minimal risks/Subject highly vulnerable ปรับเข้าการพิจารณาขั้นที่สูงขึ้น แจ้งกลับนักวิจัย

ขั้นตอนที่ 5

กรณีโครงการพิจารณาเห็นชอบ/เห็นชอบหลังปรับปรุงตามข้อเสนอแนะ
- จัดส่ง COA ไม่เกิน 5 วันทำการหลังมีข้อสรุป

×

ขั้นตอนขอพิจารณาด้านจริยธรรมวิจัยในมนุษย์ (Full board review)

ขั้นตอนที่ 1

กรอกข้อมูลในแบบฟอร์มและแนบไฟล์เอกสารในระบบ ROS การยื่นขอโครงการใหม่
ส่งโครงการวิจัยมายัง สำนักงานจริยธรรมวิจัย โทร 36643 จำนวน 1 ชุด

ขั้นตอนที่ 2

เลขานุการ REC 1,2 หรือ 3
- มอบหมาย primary reviewer 2 ท่าน
ประเมินโครงการวิจัย

ขั้นตอนที่ 3


การประชุม REC (3 ครั้ง/เดือน)
- Scientific issues
- Ethics issues
- ICF issues
Decision by consensus
แจ้งผลการพิจารณาภายใน 10 วัน ทำการ

ขั้นตอนที่ 4

โครงการไม่เข้าเกณฑ์/ไม่เห็นชอบ
- แจ้งนักวิจัย ปรับปรุงโครงการยื่นเข้ามาใหม่
- สามารถยื่นอุทธรณ์ได้
- แก้ไขส่งกลับมาภายใน 3 เดือน

ขั้นตอนที่ 5

กรณีโครงการพิจารณาเห็นชอบ/เห็นชอบหลัง
ปรับปรุงตามข้อเสนอแนะ
- จัดส่ง COA ไม่เกิน 7 วันทำการหลังได้รับ เอกสารครบ

×

ขั้นตอนขอพิจารณายกเว้นจริยธรรมวิจัยในมนุษย์ (Exempted review)

ขั้นตอนที่ 1

กรอกข้อมูลในแบบฟอร์มและแนบไฟล์เอกสารในระบบ ROS การยื่นขอโครงการใหม่
ส่งโครงการวิจัยมายัง สำนักงานจริยธรรมวิจัยโทร 36643 จำนวน 1 ชุด

ขั้นตอนที่ 2

เลขานุการ REC4 - ตรวจสอบว่าเข้าเกณฑ์ตามประกาศคณะ ฯ เรื่อง ”กำหนดแนวทางการดำเนินการของ
คณะกรรมการจริยธรรมการวิจัย”

ขั้นตอนที่ 3

โครงการเข้าเกณฑ์ ส่งประธาน REC 4 พิจารณา เห็นชอบ

ขั้นตอนที่ 4

โครงการไม่เข้าเกณฑ์
ปรับเข้าการพิจารณาขั้นที่สูงขึ้นแจ้งกลับนักวิจัย

ขั้นตอนที่ 5

กรณีโครงการพิจารณาได้รับการยกเว้น
- จัดส่งบันทึกแจ้งเป็นทางการ

×

ขั้นตอนขอพิจารณาด้านจริยธรรมวิจัยในสัตว์ทดลอง ( Full board review )

ขั้นตอนที่ 1

โหลดแบบฟอร์มและแนบไฟล์เอกสารในระบบ
ROS AF01-009AF01-008
ส่งโครงการวิจัยมายัง สำนักงานจริยธรรมการวิจัยในสัตว์ โทร 35149 ต่อ 21 จำนวน 4 ชุด

ขั้นตอนที่ 2

เลขานุการ REC
- ตรวจสอบว่าเข้าเกณฑ์ตามประกาศคณะ ฯ เรื่อง
"กำหนดแนวทางการดำเนินการของ
คณะกรรมการจริยธรรมการวิจัยในสัตว์"
- มอบหมาย primary reviewer 4 ท่านประเมินโครงการวิจัยในระบบ ROS (พิจารณา 10 วันทำการ)

ขั้นตอนที่ 3

การประชุม REC (1 ครั้ง/1เดือน)
- โครงการเห็นชอบ นำเข้าพิจารณาในที่ประชุม
- แจ้งผลการพิจารณาภายใน 10 วันทำการ

ขั้นตอนที่ 4

โครงการไม่เห็นชอบ/subject highly vulnerable
- เห็นควรเข้าพิจารณาในที่ประชุม
- แจ้งนักวิจัย ปรับปรุงโครงการยื่นเข้ามาใหม

ขั้นตอนที่ 5

กรณีโครงการพิจารณาเห็นชอบ/เห็นชอบหลัง
ปรับปรุงตามข้อเสนอแนะ
- จัดส่ง COA ไม่เกิน 7 วันทำการหลังได้รับ เอกสารครบ

×

ขั้นตอนขอพิจารณารับรองโครงการวิจัย ด้านความปลอดภัยทางชีวภาพ
ประเภท 1

ขั้นตอนที่ 1

ส่งโครงการวิจัยเพื่อขอพิจารณารับรองความ ปลอดภัยทางชีวภาพ งานบริหารงานวิจัย โทร 36219 (แบบฟอร์ม) ประเภทโครงการที่รับพิจารณา
- เชื้อโรคและพิษจากสัตว์ (รวม Cell line ด้วย)
- เทคโนโลยีชีวภาพสมัยใหม่หรือพันธุวิศวกรรม

ขั้นตอนที่ 2

รับเรื่องและพิจารณาเอกสารตามประเภทโครงการที่ยื่นขอ
ส่งเอกสารจำนวน 1 ชุด

ขั้นตอนที่ 3

เอกสารครบ : พิจารณาและ สรุปสาระสำคัญ
เอกสารไม่ครบ : แจ้งกลับขอ ส่งเอกสารเพิ่มเติม

ขั้นตอนที่ 4

คัดแยกประเภทโครงการ

ขั้นตอนที่ 5

ส่งกรรมการ 3 ท่านพิจารณา
*ประเภทที่ 3
คณะกรรมการ CMU-IBCมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ พิจารณาร่วมกับ TIBC

ขั้นตอนที่ 6

ผลการพิจารณาจากคณะกรรมการ เห็นชอบให้การรับรอง
- แจ้งผลการพิจารณาแก่ผู้ขอ
ไม่เห็นชอบ/เห็นชอบโดยมีข้อแก้ไขปรับปรุง
- แจ้งผู้ ขอให้ชี้แจงกลับให้คณะกรรมการพิจารณา


การขอยุติการขอรับพิจารณาระหว่างการพิจารณา

- ส่งบันทึก ข้อความขอยุติ ฯ ผ่านต้นสังกัด
หลังได้รับการรับรอง
- กรอก แบบฟอร์มยุติโครงการ ฯ

(แบบฟอร์มขอยุติโครงการ)
×

ขั้นตอนขอพิจารณารับรองโครงการวิจัย ด้านความปลอดภัยทางชีวภาพ
ประเภท 2

ขั้นตอนที่ 1

ส่งโครงการวิจัยเพื่อขอพิจารณารับรองความ ปลอดภัยทางชีวภาพ งานบริหารงานวิจัย โทร 36219 (แบบฟอร์ม) ประเภทโครงการที่รับพิจารณา
- เชื้อโรคและพิษจากสัตว์ ( รวม Cell line ด้วย)
- เทคโนโลยีชีวภาพสมัยใหม่หรือพันธุวิศวกรรม

ขั้นตอนที่ 2

รับเรื่องและพิจารณาเอกสารตามประเภทโครงการที่ยื่นขอ
ส่งเอกสารจำนวน 1 ชุด

ขั้นตอนที่ 3

เอกสารครบ : พิจารณาและ สรุปสาระสำคัญ
เอกสารไม่ครบ : แจ้งกลับขอ ส่งเอกสารเพิ่มเติม

ขั้นตอนที่ 4

คัดแยกประเภทโครงการ

ขั้นตอนที่ 5

คณะกรรมการ CMU - IBC02 พิจรณา
* ประเภทที่ 3
คณะกรรมการ CMU-IBC มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ พิจารณาร่วมกับ TIBC

นตอนที่ 6

ผลการพิจารณาจากคณะกรรมการ เห็นชอบให้การรับรอง
- แจ้งผลการพิจารณาแก่ผู้ขอ
ไม่เห็นชอบ/เห็นชอบโดยมีข้อแก้ไขปรับปรุง
- แจ้งผู้ ขอให้ชี้แจงกลับให้คณะกรรมการพิจารณา


การขอยุติการขอรับพิจารณาระหว่างการพิจารณา

- ส่งบันทึก ข้อความขอยุติ ฯ ผ่านต้นสังกัด
หลังได้รับการรับรอง
- กรอก แบบฟอร์มยุติโครงการ ฯ

(แบบฟอร์มขอยุติโครงการ)
×

ขั้นตอนการขอรับทุนอุดหนุนการวิจัย

ขั้นตอนที่ 1

ผู้วิจัยกรอกข้อมูลผ่านระบบ ROS พร้อมส่งเอกสารที่เกี่ยวข้อง

ขั้นตอนที่ 2

- รับเรื่อง
- ตรวจสอบความถูกต้องของเอกสาร / ประวัติการรับทุน

* หมายเหตุ
เอกสารไม่ถูกต้อง จะถูกส่งกลับไปขั้นตอนที่ 1

ขั้นตอนที่ 3


ลงรับในระบบ ROS *หมายเหตุ
- หากเอกสารไม่มีการแก้ไขตรงสาระสำคัญให้ข้ามไปยังขั้นตอนที่ 9
- หากเอกสารมีการแก้ไขให้ ดำเนินการตามขั้นตอน

ขั้นตอนที่ 4

ส่งเอกสารให้เลขา/ประธานพิจรณา มอบรายชื่อกรรมการ
* ภายใน 3 วัน หากประธาน ยังไม่ได้รับมอบหมายรายชื่อระบบจะแจ้งเตือนอีกครั้ง

ขั้นตอนที่ 5

ระบบ ROS ส่ง E-mail แจ้งกรรมการผู้ได้รับมอบหมายทราบ

ขั้นตอนที่ 6

กรรมการส่งความเห็นมายังเลขา/ประธาน
* ภายใน 15 วัน

ขั้นตอนที่ 7

ประธาน/เลขา พิจารณา
* หมายเหตุ : กรณีเอกสารมีการแก้ไขจะถูกส่งกลับไปขั้นตอนที่ 1

ขั้นตอนที่ 8

แจ้งผลการอนุมัติทุนวิจัย

ขั้นตอนที่ 9

ตรวจสอบการอนุมัติจากคณะกรรมการจริยธรรมการวิจัย/จรรยาบรรการใช้สัตว์ทดลอง/คณะกรรมการความปลอดภัยทางชีวภาพ
กรณี ผ่านการอนุมัติ ประการจัดสรรทุนและส่งสัญญาให้นิติกรเพื่อจัดทำสัญญารับทุน
ไม่ผ่านการอนุมัติ ไม่ทำสัญญา

โหลดเอกสารที่เกี่ยวข้อง
บันทึกข้อความรับทุน
แบบสมัครรับทุนวิจัย
แบบเสนอโครงการวิจัย คู่มือประกอบการเขียน แบบเสนอโครงการวิจัย คำอธิบายหมวดงบประมาณ
×

ขั้นตอนการยื่นขอรับสิทธิบัตร/อนุสิทธิบัตร คณะแพทย์ศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

ขั้นตอนที่ 1

ผู้สร้างสรรค์นัดหมายเจ้าหน้าที่
เบอร์ 053 - 935149 ต่อ 13

ขั้นตอนที่ 2

รับเรื่อง/รับฟังงาน สร้างสรรค์
*( 1 - 3 ชม. )

ขั้นตอนที่ 3

เจ้าหน้าที่ศึกษารายละเอียดการประดิษฐ์
และชี้แจ้งการเขียนคำขอจดแจ้งให้กับผู้ประดิษฐ์ ( 1 - 2 ชม. )

ขั้นตอนที่ 4

เจ้าหน้าที่สืบค้นสิทธิบัตร/อนุสิทธิบัตรใกล้เคียงการประดิษฐ์
( 7 - 14 วัน )

ขั้นตอนที่ 5

ผู้สร้างสรรค์ร่างขอและส่งอีเมลล์มาที่ patsadakorn.ip@gmail.com
* ( ภายใน 4 สัปดาห์ )

ขั้นตอนที่ 6

เจ้าหน้าที่ตรวจสอบร่างคำขอของผู้ประดิษฐ์
(* 1 - 14 วัน )
* ถ้ามีการแก้ไข:เจ้าหน้าที่แก้ไขร่างคำขอ
(อาจต้องการข้อมูลเพิ่มเติม)
* ถ้าไม่มีการแก้ไข:ผู้สร้างสรรค์ตรวจสอบ
(อาจให้ข้อมูลเพิ่มเติม)

ขั้นตอนที่ 7

ผู้สร้างสรรค์ส่งเอกสารตัวจริงพร้อมลงนามมายังบริหารงานวิจัย
*( 1 - 3 วัน )

ขั้นตอนที่ 8

เจ้าหน้าที่รวบรวมเอกสารและเสนอเรื่องต่อรองคณบดี
*( 1 - 3 วัน )

ขั้นตอนที่ 9

เจ้าหน้าที่ส่งเอกสารไปยัง TLOUBI
*( 1 - 3 วัน )

ขั้นตอนที่ 10

TLOUBI พิจารณาความถูกต้องของร่างคำขอ
* มีการแก้ไข TLOUBL นัดหมายและพบผู้สร้างสรรค์ ( ต้องการข้อมูลเพิ่มเติม )
* มีการแก้ไข เจ้าหน้าที่แก้ไขร่างคำขอ
(ไม่ต้องการข้อมูลเพิ่มเติม)
* ผู้ประดิษฐ์ตรวจสอบร่างคำขอที่แก้ไข
(4 - 8 สัปดาห์)

ขั้นตอนที่ 11

TLOUBI ขอเอกสารการยืนคำขอเพิ่มเติม
* หนังสือโอนสิทธิ ( ไม่ต้องลงวันที่ )
* สำเนาบัตรประจำตัวประชาชนของผู้ประดิษฐ์

ขั้นตอนที่ 12

TLOUBI เสนอเรื่องต่ออธิการบดีและยื่นเอกสาร ผ่านพาณิชย์จังหวัดเชียงใหม่

ขั้นตอนที่ 13

TLOUBI ส่งบันทึกแจ้งเลขคำขอมายังงานบริหารงานวิจัย

ขั้นตอนที่ 14

งานบริหารงานวิจัยส่งสำเนาเลขคำขอไปยังผู้สร้างสรรค์
* ( 1 - 3 วัน )


เจ้าหน้าที่ คือ เจ้าหน้าที่บริหารงานวิจัยคณะแพทยศาสตร์ (พัสดากร สูงงาม) โทร: 35149 ต่อ 13
TLOBI คือ หน่วยจัดการทรัพย์สินทางปัญญาและถ่ายทอดเทคโนโลยี มช.
หมายเหตุ เพิ่มเติม ขั้นตอนที่ 6
- แบบพิมพ์คำขอสิทธิบัตร/อนุสิทธิบัตร แบบ สป/สผ/อสป/001-ก
- แบบฟอร์มเปิดเผยการประดิษฐ์ (Invention Disclosure Form)
- รายละเอียดการประดิษฐ์
- บทสรุปการประดิษฐ์
- ข้อถือสิทธิ

×

ขั้นตอนการขอส่งต้นฉบับ (Manuscript) เพื่อให้ผู้เชี่ยวชาญภาษาต่างประเทศตรวจสอบ/แก้ไข

ขั้นตอนที่ 1

อาจารย์/นักวิจัย ส่งไฟล์ manuscript (รวมเนื้อหาทั้งหมดให้อยู่ในไฟล์เดียว) มายังงานบริหารงานวิจัย คณะแพทยศาสตร์ ที่ E-mail: researchmed@cmu.ac.th

ขั้นตอนที่ 2

ส่งบันทึกข้อความข้อความอนุเคราะห์ตรวจสอบเอกสารภาษาอังกฤษ ผ่านภาควิชา/สังกัด ส่งมายัง งานบริหารงานวิจัย คณะแพทยศาสตร์

ขั้นตอนที่ 3

ในกรณีขอรับบริการแบบเร่งด่วน ติดต่องานบริหารงานวิจัย 053-935149 ต่อ 19 หรือ E-mail: researchmed@cmu.ac.th

ขั้นตอนที่ 4

ส่งเรื่องให้ผู้เชี่ยวชาญ ตรวจสอบ/แก้ไข ทางอีเมล์

ขั้นตอนที่ 5

ส่งเรื่องที่ได้รับการตรวจสอบ/แก้ไขแล้วให้อาจารย์/นักวิจัย ทางอีเมล์เดิม

ประกาศที่เกี่ยวข้อง

1.ประกาศคณะแพทยศาสตร์ เรื่อง การส่งต้นฉบับภาษาอังกฤษเพื่อให้ ผู้เชี่ยวชาญภาษาต่างประเทศช่วยตรวจสอบ/แก้ไข และเงื่อนไขการจ่าย ค่าตอบแทนผู้เชี่ยวชาญในการตรวจสอบต้นฉบับ (Manuscript) ประกาศ ณ วันที่ 19 มกราคมพ.ศ. 2554

×

ขั้นตอนการขอรับทุนไปเสนอผลงานวิชาการระดับนานาชาติ ณ ต่างประเทศ

ขั้นตอนที่ 1

*เงื่อนไขผู้ขอเบิก ข้าราชการ หรือพนักงานมหาวิทยาลัย ปฏิบัติงานมาแล้วไม่น้อยกว่า 1 ปี
และไม่อยู่ในระหว่างลาศึกษาต่อเต็มเวลา

ขั้นตอนที่ 2

มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ สนับสนุนค่าพาหนะ, ค่าลงทะเบียน,และค่าที่พัก

ขั้นตอนที่ 3

นำเสนอต่อคณบดีเพื่อลงนามส่งต่อ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

ขั้นตอนที่ 4

คณะแพทยศาสตร์ วงเงินไม่เกินร้อยละ 50
จากวงเงินที่ มช อนุมัติ
( ส่วนที่ มช ไม่สนับสนุนหรือไม่เพียงพอ )

ขั้นตอนที่ 4

ส่งเรื่องร้องขอผ่านระบบ CMU MIS

ขั้นตอนที่ 5

เจ้าหน้าที่พิจรณาความถูกต้องและครบถ้วนของเอกสารตามประกาศคณะ นำเสนอคณบดีผ่านรองคณบดีฝ่ายวิจัย

ขั้นตอนที่ 6

ผู้รับทุนขออนุมัติเดินทางไปราชการและยืมเงินทดรองจ่าย

คณะ

ต้องตีพิมพ์เป็น Original article ในวารสาร วิชาการนานาชาติที่อยู่ ในฐานข้อมูลมาตรฐาน โดยต้องเป็นชื่อแรกหรือ correspondent ภายใน 2 ปีงบประมาณ

มช.

ตีพิมพ์อย่างน้อยเป็น Proceedng ในวารสารที่อยู่ในฐานข้อมูลมาตรฐาน

เกณฑ์ในการพิจารณาวงเงินของมหาวิทยาลัยเชียงใหม่

กลุ่มประเทศ

พิจารณาจัดสรรงบประมาณจ่ายในวงเงินไม่เกิน

อาเซียน

30,000 บาท

ในทวีปเอเซีย

40,000 บาท

ในทวีป ออสเตรเลีย/นิวซีแลนด์

50,000 บาท

ในทวีปยุโรป/อเมริกา/แอฟริกา

70,000 บาท

อื่นๆ นอกเหนือจากที่กล่าวมา

พิจารณาตามความเหมาะสมไม่เกิน 40,000 บาท

×

ขั้นตอนการขอรับสนับสนุนการเผยแพร่
ผลงานวิชาการ
(ค่าตอบแทนผลงานวิชาการ)

ขั้นตอนที่ 1

เอกสาร กรอกรายละเอียดครบถ้วนส่งที่งานบริหาร งานวิจัย 1 ชุด (โทร 35149 ต่อ 19)

แบบฟอร์ม ม.ช/แบบฟอร์มคณะฯ

ขั้นตอนที่ 2

งานบริหารงานวิจัย คณะ ฯ ตรวจสอบเอกสาร

ขั้นตอนที่ 3

เบิกค่าตอบแทนจากคณะ ฯ
ส่งคณบดีอนุมัติ
ส่งเรื่องให้งานคลัง
งานคลังจ่ายเช็คให้ผู้ขอ

ขั้นตอนที่ 4

เบิกค่าตอบแทนจากมหาวิทยาลัยเชียงใหม่
นำเรื่องให้คณบดีลงนามส่งให้
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ สำนักงานบริหารงานวิจัย

ขั้นตอนที่ 5

เจ้าหน้าที่สำนักงานบริหารงานวิจัย
- ตรวจสอบเอกสาร
- ส่งเสนอรองอธิการบดีเพื่ออนุมัติ

ขั้นตอนที่ 6

เจ้าหน้าที่สำนักงานบริหารงานวิจัย
- ส่งเรื่องที่อนุมัติให้กองคลัง มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
- กองคลังโอนเงินเข้าบัญชีผู้ขอ


ค่าตอบแทนจากคณะแพทย์ ประกาศที่เกี่ยวข้อง

- ประกาศ เรื่อง แนวปฏิบัติในการขอรับการสนับสนุนการเผลแพร่ผลงานวิชาการ
ในเชียงใหม่ คณะฯ
[ ประกาศ ณ วันที่ 24 พ.ย. 2564 ]
- ประกาศ เรื่อง ผลการจัดสรรทุนพัฒนาการศึกษา
คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
[ประกาศ ณ วันที่ 30 พ.ย. 2564]
- ประกาศ เรื่อง เงินเพิ่มเติมพิเศษเพิ่มเติมจากค่าตอบแทนผลงานวิชาการ
ของคณะแพทย์ [ประกาศ ณ วันที่ 28 ก.ย. 2561]

ค่าตอบแทนจากมหาวิทยาลัย ประกาศที่เกี่ยวข้อง

- ประกาศมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ เรื่อง การให้เงินอุดหนุนการตีพิมพ์ผลงาน
ทางวิชาการในวารสารวิชาการระดับนานาชาติ
( ค่าตอบแทนผลงานที่ตีพิมพ์ตั้งแต่ 1 ต.ค. 65 เป็นต้นไป )
[ ประกาศ ณ วันที่ 15 ก.พ. 2565 ]
- ประกาศคณะฯ เรื่อง การสนับสนุนทุนส่งเสริมการตีพิมพ์ผลงานในวารสาร
Nature, Science, Lancet, The New England Journal Medicine
[ประกาศ ณ วันที่ 2 ก.ค. 2564]
- ประกาศคณะฯ เรื่อง การสนับสนุนทุนส่งเสริมการตีพิมพ์ผลงานร่วม
กับมหาวิทยาลัยหรือสถาบันอันดับ 1-10 ของโลก
[ประกาศ ณ วันที่ 2 ก.ค. 2564]
×

ขั้นตอนการขอรับสนับสนุนการเผยแพร่
ผลงานวิชาการ
(ค่าตีพิมพ์ผลงานวิชาการ page charge)

ขั้นตอนที่ 1

เอกสาร กรอกรายละเอียดครบถ้วนส่งที่งานบริหาร งานวิจัย
(โทร 35149 ต่อ 19) 1 ชุด (ให้ตามค่า JIF)

แบบฟอร์ม ม.ช/แบบฟอร์มคณะฯ

ขั้นตอนที่ 2

งานบริหารงานวิจัย คณะ ฯ ตรวจสอบเอกสาร

ขั้นตอนที่ 3

เบิกค่าตอบแทนจากคณะ ฯ
ส่งคณบดีอนุมัติ
ส่งเรื่องให้งานคลัง
งานคลังจ่ายเช็คให้ผู้ขอ

ขั้นตอนที่ 4

เบิกค่าตอบแทนจากมหาวิทยาลัยเชียงใหม่
นำเรื่องให้คณบดีลงนามส่งให้ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ สำนักงานบริหารงานวิจัย

ขั้นตอนที่ 5

เจ้าหน้าที่สำนักงานบริหารงานวิจัย
- ตรวจสอบเอกสาร
- ส่งเสนอรองอธิการบดีเพื่ออนุมัติ

ขั้นตอนที่ 6

เจ้าหน้าที่สำนักงานบริหารงานวิจัย
- ส่งเรื่องที่อนุมัติให้กองคลัง มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
- กองคลังโอนเงินเข้าบัญชีผู้ขอ


×

กระบวนการขึ้นทะเบียนบัญชี
นวัตกรรมไทย

ขั้นตอนที่ 1

ผู้ประดิษฐ์ทำงานวิจัย/พัฒนา ผลงานนวัตกรรมและยื่นขอจดทะเบียนทรัพย์สินทางปัญญา

ขั้นตอนที่ 2

ยื่นขอจดทะเบียนทรัพย์สินทางปัญญา

ขั้นตอนที่ 3

สัญญารับถ่ายทอดเทคโนโลยี หรือ สัญญาอนุญาตให้ใช้สิทธิในทรัพย์สินทางปัญญา
- ผลการศึกษาและงานวิจัย
- สัญญาร่วมวิจัย/จ้างวิจัย/ขอรับทุนสนับสนุนการวิจัย

ขั้นตอนที่ 4

นิติบุคคล/สถานประกอบ ทดสอบคุณภาพผลิตภัณฑ์ ณ หน่วยงานวิเคราะห์ทดสอบ

ขั้นตอนที่ 5

นิติบุคคล/สถานประกอบการ ขอขึ้นทะเบียนฯโดยดาวน์โหลดและกรอกคำขอขึ้นทะเบียนฯ

ขั้นตอนที่ 6

สวทช.ตรวจสอบเอกสารและรายละเอียดตามหลักเกณฑ์

ขั้นตอนที่ 7

คณะอนุกรรมการพิจารณาตรวจสอบคุณสมบัติ

ขั้นตอนที่ 8

คณะกรรมการพิจารณาตรวจสอบคุณสมบัติ

ขั้นตอนที่ 9

สำนักงบประมาณ ดำเนินการตรวจสอบราคาผลิตภัณฑ์และบริการ และจัดทำประกาศบัญชีนวัตกรรมไทย


คณะอนุกรรมการ = คณะอนุกรรมการกลั่นกรองการขึ้นทะเบียนบัญชีนวัตกรรมไทย
คณะกรรมการ = คณะกรรมการตรวจสอบคุณสมบัติผลงานนวัตกรรมที่ขอขึ้นทะเบียนบัญชีนวัตกรรมไทย