• หน้าหลัก
  • เรียนรู้จริยธรรมวิจัย
  • Policies/SOP/GL
    • SOP
    • GL
    • MOU
    • คำสั่ง/ประกาศ
    • คู่มือกรรมการ
  • EC Submission
    • โครงการวิจัยที่รับพิจารณา
    • การยื่นโครงการใหม่
      • การขอยกเว้น (Exemption)
      • การขอรับการพิจารณาแบบเร่งด่วน (Expedited)
      • การขอรับการพิจารณาในที่ประชุม(Full Board)
      • การขอ Re-submit
    • ภายหลังการรับรอง
      • Amendment
      • Deviation/Violation
      • Progress report/continuing review
      • SAE report
      • Close study report
    • จำนวนเอกสารส่งสำนักงาน
  • Download initial
    • รายชื่อกรรมการ
    • Form รวม
    • MTA/CTA
      • บันทึกขอเสนอ MTA-CTA
      • หนังสือมอบอำนาจลงนาม ศ.นพ.บรรณกิจ
      • หนังสือมอบอำนาจลงนาม ศ.นพ.คม
      • ตัวอย่าง CTA / MTA
      • กระบวนการ การส่งเอกสาร CTA / MTA
  • International Guidelines
    • CIOMS Guidelines
    • Common Rules 2017
    • ICH GCP E6(R2)
    • 45CFR46
    • Nuremburg Code
    • Belmont Report
    • Declaration of Helsinki
    • WHO Guidelines for EC
  • ICF
    • แนวทาง/ต้นแบบ ICF-FERCIT
    • แนวทางการเขียน ICF
    • แบบตัวอย่างการเขียน ICF
  • ProtocolTemplate
    • การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย
    • protocolTemplateFOM
    • Guidance for writing a research protocol
  • REC office chart

ประกาศ/คำสั่ง

New !!! แนวปฏิบัติในการรับทุนวิจัยจากหน่วยงานภายนอกมหาวิทยาลัย ค่าธรรมเนียมอุดหนุนสถาบัน (ค่าบริหารโครงการ) ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2565 (ฉบับแก้ไข) [ ประกาศ ณ วันที่ 10 มิถุนายน 2565]
New !!! แนวปฏิบัติสำหรับการรับทุนสนับสนุนจากหน่วยงานภายนอกมหาวิทยาลัย และหลักเกณฑ์ในการชำระงบประมาณ ค่าธรรมเนียมการยื่นเสนอขอรับพิจารณาจริยธรรมการวิจัย ค่าธรรมเนียมดำเนินการด้านเอกสารจริยธรรมการวิจัย ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2565 (ฉบับแก้ไข) [ ประกาศ ณ วันที่ 16 มิถุนายน 2565]
แนวปฏิบัติในการรับทุนวิจัยจากหน่วยงานภายนอกมหาวิทยาลัย ค่าธรรมเนียมอุดหนุนสถาบัน (ค่าบริหารโครงการ) ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2565 [ ประกาศ ณ วันที่ 17 พฤษภาคม 2565]
แนวปฏิบัติสำหรับการรับทุนสนับสนุนจากหน่วยงานภายนอกมหาวิทยาลัย และหลักเกณฑ์ในการชำระงบประมาณ ค่าธรรมเนียมการยื่นเสนอขอรับพิจารณาจริยธรรมการวิจัย ค่าธรรมเนียมดำเนินการด้านเอกสารจริยธรรมการวิจัย ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2565 [ ประกาศ ณ วันที่ 17 พฤษภาคม 2565]
New !!! แนวปฏิบัติการใช้ข้อมูลจากเวชระเบียนเพื่อการวิจัย พ.ศ. 2565 [ ประกาศ ณ วันที่ 10 มิถุนายน 2565]
New !!! ประกาศคณะแพทยศาสตร์ เรื่อง “แนวปฏิบัติการวิจัยที่เกี่ยวข้องกับมนุษย์ พ.ศ.2565” ทั้งนี้ มีผลตั้งแต่ 14 กุมภาพันธ์ 2565 เป็นต้นไป [ ประกาศ ณ วันที่ 18 มกราคม 2565]
New !!! ประกาศคณะแพทยศาสตร์ เรื่อง “แนวปฏิบัติของผู้วิจัยสำหรับการขอความยินยอมทางอิเล็กทรอนิกส์” [ ณ วันที่ 27 พ.ค. 2564]
New !!! ประกาศคณะแพทยศาสตร์ เรื่อง กำหนดแนวทางดำเนินการของคณะกรรมการจริยธรรมการวิจัย คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ฉบับปรับปรุง พ.ศ.2563 [ณ วันที่ 26 พ.ค. 2563]
Update !!! ประกาศคณะแพทยศาสตร์ เรื่อง “แนวปฏิบัติในการรายงานเหตุการณ์ไม่พึงประสงค์ในการวิจัยทางคลินิก ฉบับปรับปรุง พ.ศ.2564" [ณ วันที่ 29 ม.ค.2564]
New !!! ประกาศคณะแพทยศาสตร์ เรื่อง “แนวปฏิบัติในการยื่นขอแก้ไขเพิ่มเติมเอกสารโครงการวิจัย และรายงานการเบี่ยงเบน พ.ศ.2563" [ณ วันที่ 29 พ.ค. 2563]
New !!! ประกาศคณะแพทยศาสตร์ เรื่อง การยกเว้นจากการพิจารณาของคณะกรรมการจริยธรรมการวิจัย (Exemption) [ณ วันที่ 29 พ.ค. 2563]
Update !!! ประกาศคณะแพทยศาสตร์ เรื่อง การวิจัยที่สามารถขอรับการพิจารณาแบบเร่งด่วน (Expedited Review) [ณ วันที่ 5 พ.ย. 2563]
New !!! ประกาศคณะแพทยศาสตร์ เรื่อง แนวปฏิบัติการจัดตั้ง/ใช้คลังตัวอย่างชีวภาพ (Biobank) [ณ วันที่ 29 พ.ค. 2563]
New !!! แนวทางการดำเนินงานสำหรับผู้ประสานงานวิจัย ในกรณีที่โครงการผ่านการพิจารณารับรองจริยธรรมการวิจัย จาก CREC และยื่นเอกสารมายังคณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่” [ณ วันที่ 29 พ.ค. 2563]
New !!! คำแนะนำสำหรับนักวิจัยในช่วงสถานการณ์COVID [ณ วันที่ 19 เม.ย. 2563]
New !!! FDA guidance on Conduct of clinical trials during COVID-19 Mar 2020 [ณ วันที่ 19 เม.ย. 2563]
แนวทางปฏิบัติของสำนักงานจริยธรรมการวิจัย ในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรค COVID-19 ฉบับที่ 1 [ณ วันที่ 1 เม.ย. 2563]
ประกาศหลักเกณฑ์ การชำระค่าธรรมเนียมฯ โครงการวิจัยที่ได้รับทุนสนับสนุนจากภายนอก [ณ วันที่ 23 เม.ย. 2563]
Q & A เกี่ยวกับการดำเนินการวิจัยทางคลินิกในสถานการณ์แพร่ระบาดของโรค COVID-19 ฉบับที่ 1 [ณ วันที่ 1 เม.ย. 2563]
ยกเลิก และแต่งตั้งคณะกรรมการจริยธรรมวิจัย [วาระตั้งแต่ 1 ม.ค. 2563 - 31 ธ.ค. 2564]
คำสั่งคณะฯ ขยายระยะเวลาการดำเนินการของคณะกรรมการจริยธรรมการวิจัย ตั้งแต่ 1 พ.ค. 2562 – 31 ก.ค. 2562 [สั่ง ณ วันที่ 3 เม.ย. 2562]
คำสั่งคณะแพทยศาสตร์ เรื่อง แต่งตั้งคณะกรรมการจริยธรรมการวิจัย [ประกาศ ณ วันที่ 28 เม.ย. 2560]
Update !!! การต่ออายุการยอมรับคณะกรรมการพิจารณาจริยธรรมการวิจัยในคนที่พิจารณาโครงการวิจัยทางคลินิกเกี่ยวกับยา [ณ วันที่ 24 มี.ย. 2562 (มีอายุ 4 ปี)]
คำสั่งคณะแพทยศาสตร์ เรื่อง ขยายระยะเวลาการดำเนินการของคณะกรรมการจริยธรรมการวิจัย [ประกาศ ณ วันที่ 23 ธ.ค. 2559]
เรื่อง แนวปฏิบัติสำหรับการรับทุนสนับสนุนจากหน่วยงานภายนอกมหาวิทยาลัย และหลักเกณฑ์ในการชำระงบประมาณ ค่าธรรมเนียมการพิจารณาจริยธรรมการวิจัย ค่าธรรมเนียมการวิจัย ฉบับปรับปรุง 2559 [ประกาศ ณ วันที่ 5 ต.ค. 2559]
ประกาศฯ เรื่อง กำหนดแนวทางดำเนินการของคณะกรรมการจริยธรรมการวิจัย คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ฉบับปรับปรุง พ.ศ.2559 [ประกาศ ณ วันที่ 19 ม.ค. 2559]
ประกาศแต่งตั้งคณะกรรมการจริยธรรมวิจัย [ประกาศ ณ วันที่ 28 ม.ค. 2558]
คำสั่ง เรื่อง ขยายระยะเวลาการดำเนินการของคณะกรรมการจริยธรรมการวิจัย [ประกาศ ณ วันที่ 23 ธ.ค. 2559]
เรื่อง “แนวปฏิบัติในการขอรับรองและการพิจารณาการปรับปรุงแก้ไขโครงการวิจัย เอกสารคู่มือผู้วิจัย ข้อมูลสำหรับอาสาสมัคร หรือเอกสารอื่น ๆ ที่ได้รับอนุมัติเชิงจริยธรรมไปแล้ว ฉบับปรับปรุง พ.ศ.๒๕๕๗” [ประกาศ ณ วันที่ 16 ก.ย. 2557]
เรื่อง “แนวปฏิบัติในการรายงานเหตุการณ์ไม่พึงประสงค์ในการวิจัยทางคลินิก ฉบับปรับปรุง พ.ศ.๒๕๕๗” [ประกาศ ณ วันที่ 16 ก.ย. 2557]

Application Form [Update 14 มีนาคม 2565]

- Initial Submission

- บันทึกข้อความขอยกเว้น

- บันทึกข้อความขอรับรอง

- บันทึกขออนุญาตทำวิจัย

- บันทึกข้อความขอยกเว้นค่าธรรมเนียมพิจารณา

- บันทึกข้อความแก้ไขตามข้อเสนอแนะกรรมการ-เร่งด่วน

- บันทึกข้อความแก้ไขตามข้อเสนอแนะกรรมการ-ที่ประชุม

- ตัวอย่าง CV_staff_en

- ตัวอย่าง CV_student_en

- ตัวอย่าง MTA Sample

- ตัวอย่างขอเชิญบุคลากรร่วมวิจัย

- ข้อความ แบบเสนอสำหรับโครงการวิจัย Phase I


- Initial Submission Form

- AF01-007_Submission checklist (TH / Eng)

- AF02-007_Herb chklist (TH / Eng)

- AF03-007 Device chklist (TH / Eng)

- AF04-007_Phase I PI form (TH / Eng)

- AF01-008_Exempt form (TH / Eng)

- AF01-009_Expedited form (TH / Eng)

- AF01-010_Full Board Form (TH / Eng)

- AF03-010_COI (TH /Eng)

- AF01-031_BiobankSubmission (TH /Eng)

- Continuing Report

- AF01-013_แบบขอปรับปรุงแก้ไข_v6

- AF02-013_ตารางเปรียบเทียบการแก้ไข_v6

- AF01-014_Progress Report_v6

- AF01-015_แบบรายงานสิ้นสุดโครงการ_v6

- AF01-018_แบบคำขอยุติโครงการวิจัย

- AF01-016_แบบรายงานเบี่ยงเบนโครงการ_v6

- AF01-019_แบบรายงานSAE-in_v6

- AF02-019_แบบรายงานSAE-Sum_v6

- ฟอร์มชำระค่าธรรมเนียมสืบค้น,ถ่ายสำเนาเอกสาร

- บันทึกข้อความขอปรับปรุงแก้ไข

- บันทึกข้อความแจ้งสิ้นสุด

- บันทึกข้อความรายงานAE-SAE

- บันทึกข้อความรายงานการเบี่ยงเบน

- บันทึกข้อความรายงานความก้าวหน้า

กรณีที่อาสาสมัครอายุ 18 ปี บริบูรณ์ขึ้นไป

• ข้อมูลสำหรับอาสาสมัครควรเขียนในระดับที่ผู้จบการศึกษาระดับมัธยม 3 อ่านเข้าใจได้ ถ้ามีศัพท์ภาษาอังกฤษให้แปลหรือทับศัพท์เป็นภาษาไทย
• ในกรณีที่คาดว่าจะพบอาสาสมัครที่ไม่รู้หนังสือ ให้มีช่องสำหรับพยานผู้ไม่มีส่วนได้เสีย (impartial witness) เพื่อยืนยันกระบวนการขอความยินยอม
• ในกรณีที่เป็นเรื่องอ่อนไหวมากและอาสาสมัครไม่ต้องการให้ผู้อื่นล่วงรู้ข้อมูลส่วนตัวอาจระบุขอยกเว้นการมีพยานในหนังสือยินยอมได้
- ตัวอย่าง-ข้อมูลอาสาสมัคร -18 ปี ขึ้นไป
- ตัวอย่างหนังสือแสดงความยินยอมอาสาสมัครอายุ 18 ปีขึ้นไป

กรณีที่อาสาสมัครอายุ 18 ปี บริบูรณ์ขึ้นไป แต่ขาดความสามารถในการตัดสินใจ

• ต้องขอความยินยอมจากผู้แทนโดยชอบธรรมของอาสาสมัคร
• ข้อมูลสำหรับผู้แทนโดยชอบธรรมของอาสาสมัครควรเขียนในระดับที่ผู้จบการศึกษาระดับมัธยม 3 อ่านเข้าใจได้ ถ้ามีศัพท์ภาษาอังกฤษให้แปลหรือทับศัพท์เป็นภาษาไทย
• หากอาสาสมัครฟื้นความสามารถแล้วต้องขอ re-consent
- ตัวอย่าง-ข้อมูลสำหรับผู้แทนโดยชอบธรรม [doc]
- ตัวอย่างหนังสือแสดงความยินยอม

กรณีที่อาสาสมัครอายุ 18 ปี บริบูรณ์ขึ้นไป แต่ขาดความสามารถในการตัดสินใจ

• ต้องขอความยินยอมจากผู้แทนโดยชอบธรรมของอาสาสมัคร
• ข้อมูลสำหรับผู้แทนโดยชอบธรรมของอาสาสมัครควรเขียนในระดับที่ผู้จบการศึกษาระดับมัธยม 3 อ่านเข้าใจได้ ถ้ามีศัพท์ภาษาอังกฤษให้แปลหรือทับศัพท์เป็นภาษาไทย
• หากอาสาสมัครฟื้นความสามารถแล้วต้องขอ re-consent
- ตัวอย่าง-ข้อมูลสำหรับผู้แทนโดยชอบธรรม [doc]
- ตัวอย่างหนังสือแสดงความยินยอม

กรณีที่อาสาสมัครอายุระหว่าง 13 ปี บริบูรณ์ ขึ้นไปแต่ไม่ถึง 18 ปี บริบูรณ์

• หากโครงการวิจัยไม่ซับซ้อน สามารถใช้เอกสารร่วมกันได้

- ตัวอย่าง-ข้อมูลสำหรับอาสาสมัครและผุ้ปกครอง (13 ปี - น้อยกว่า 18 ปี) [doc]
- ตัวอย่างหนังสือแสดงความยินยอม
• หากโครงการมีความซับซ้อนและเข้าใจยาก ควรแยกเอกสารของเด็กและผู้ปกครอง

- ตัวอย่างข้อมูลสำหรับผู้ปกครอง
- ตัวอย่างหนังสือแสดงความยินยอมของผู้ปกครอง
- ตัวอย่างข้อมูลสำหรับอาสาสมัครเด็ก ให้เขียนตามระดับการศึกษาของเด็ก
- ตัวอย่างหนังสือแสดงความยินยอมของเด็ก

การประชุม

องค์ประชุม
      - จำนวนผู้เข้าร่วมประชุมไม่น้อยกว่ากึ่งหนึ่ง
      - อย่างน้อย 2 คนเป็นแพทย์
      - อย่างน้อย 1 คนเป็น non-medical/non-scientific member
      - อย่างน้อย 1 คน เป็น non-affiliated member
ประชุมอย่างน้อยปีละ 8 ครั้ง

พันธกิจและวัตถุประสงค์

คณะกรรมการจริยธรรมการวิจัยเป็นคณะกรรมการ ที่จะดูแลให้การวิจัยที่เกี่ยวข้องกับมนุษย์เป็นตัวอย่างวิจัย (research subjects) ที่ดำเนินการในคณะแพทยศาสตร์ หรือดำเนินการโดยบุคลากรของคณะแพทยศาสตร์ หรือ ดำเนินการโดยบุคลากรสถาบันสมทบ เป็นไปอย่างถูกต้องตามหลักจริยธรรมสากล คณะกรรมการจริยธรรมการวิจัยสามารถตัดสินใจโดยอิสระ ปราศจากอคติอันเนื่องมาจากระบบบริหาร นักวิจัย หรือผู้อุปถัมภ์ และคณะกรรมการจริยธรรมวิจัยจะดำเนินการตามพันธกิจโดยมีวัตถุประสงค์ดังนี้
     ๑.๑ เพื่อปกป้องสิทธิ และสวัสดิภาพของผู้เข้าร่วมโครงการวิจัยจากภยันตรายอันเนื่องมาจากการวิจัย
     ๑.๒ เพื่อมั่นใจว่าการวิจัยที่เกี่ยวข้องกับมนุษย์ มีคุณค่าเชิงวิชาการและถูกต้องตามหลักจริยธรรมสากล
     ๑.๓ เพื่อมั่นใจว่าการวิจัยที่กำลังดำเนินอยู่ยังคงมีความเหมาะสมทางจริยธรรม

๒. กรอบวัตถุประสงค์
คณะกรรมการจริยธรรมจะดำเนินการตามวัตถุประสงค์ดังนี้
     ๒.๑ พิจารณาให้ความเห็นชอบเชิงจริยธรรมต่อโครงการวิจัยโดยอาศัยหลักจริยธรรมพื้นฐานได้แก่
        (ก) การเคารพในสิทธิและศักดิ์ศรีของผู้เข้าร่วมโครงการวิจัย (respect for persons)
        (ข) ประโยชน์ (beneficence), และ
        (ค) ความเป็นธรรม (justice)
     ๒.๒ ให้คำปรึกษาแนะนำแก่บุคลากรของคณะ สถาบันสมทบ หรือสาธารณชนเกี่ยวกับเนื้อหาที่เกี่ยวข้องกับจริยธรรมการวิจัย
     ๒.๓ ส่งเสริมการศึกษาด้านจริยธรรมการวิจัยกับบุคลากรด้านการวิจัยของคณะแพทยศาสตร์ และสถาบันสมทบ

คณะกรรมการจริยธรรมการวิจัย (full board review)

“ กรรมการหลักมีไม่น้อยกว่า 9 คน ประกอบด้วยทั้งเพศหญิงและชาย
          - อย่างน้อย 5 คนอยู่ในสาขาการแพทย์/วิทยาศาสตร์ (ควรเป็นแพทย์อย่างน้อย 3 คน)
          - อย่างน้อย 1 คน ควรมีความรู้กฎหมาย
          - อย่างน้อย 1 คน ควรไม่สังกัดคณะแพทยศาสตร์
          - อย่างน้อย 1 คน เป็นบุคคลนอกสาขาแพทยศาสตร์/วิทยาศาสตร์

กรรมการมีวาระ 2 ปี
       - รายชื่อคณะกรรมการ ชุดที่ 1, 2, 3 ภาษาไทยและภาษาอังกฤษ

คณะกรรมการจริยธรรมการวิจัย ชุดที่ 4 (Expedited and Alternative)

- มีหน้าที่พิจารณาโครงการที่เข้าข่ายพิจารณาแบบเร่งด่วน (expedited review) และ/หรือ ทำหน้าที่แทนกรรมการฯ ชุดที่ 1-3 ที่ไม่สามารถเข้าร่วมประชุมได้ โดยมีอำนาจหน้าที่เหมือนกรรมการประจำ
กรรมการมีวาระ 2 ปี
          - รายชื่อกรรมการชุดที่ 4 (Expedited and Alternative) ภาษาไทย
          - รายชื่อกรรมการชุดที่ 4 (Expedited and Alternative) ภาษาอังกฤษ

Download เอกสารคู่มือการใช้งานระบบ ROS

คู่มือการใช้งานระบบสำหรับกรรมการพิจารณาโครงการวิจัย
คู่มือการใช้งานระบบสำหรับเจ้าหน้าที่งานบริหารงานวิจัย
คู่มือการใช้งานระบบสำหรับนักวิจัย
เอกสารการอบรมการใช้งานระบบ สำหรับนักวิจัย
เอกสารการอบรมการใช้งานระบบ สำหรับเลขาภาควิชา

วิธีการลงทะเบียนขอจริยธรรม

width=500px heigth=500px

คำถามที่พบบ่อยในการสอบถามการใช้งานระบบ ROS

1. ส่งโครงการวิจัยมาเมื่อ.... จะได้เข้ารอบประชุมเมื่อไหร่ วันที่อะไร
- ติดต่อสอบถามได้ที่เบอร์ 053-936643 เพราะมีโครงการรอเข้าประชุมตามวาระค่อนข้างเยอะ

2. เข้าประชุมแล้วจะได้คำตอบเมื่อไหร่
- ประมาณ 1-2 สัปดาห์หลังเข้าประชุม

3. ต้องส่งโครงการมานานหรือไม่ที่จะเข้าประชุม
- ส่งเอกสารมาก่อนเข้าประชุมอย่างน้อยประมาณ 2 สัปดาห์

4. จะแก้ไขโครงการวิจัยในระบบ ROS อย่างไร
- เข้ามาหน้าหลัก-> ฟันเฟืองสีฟ้าหน้าโครงการวิจัย -> กระดาษขาว บวกสีเขียว -> กดเข้าไปที่รายการร้องขอ สามารถแก้ไขตามความเห็นของคณะกรรมการได้ที่หน้านี้ -> บันทึกรายการร้องขอและแนบไฟล์ใหม่ที่แก้ไขเข้ามากดส่งเรื่องร้องขอ

5. แนบไฟล์โครงการยังไง
- เข้ามาหน้าหลัก-> ฟันเฟืองสีฟ้าหน้าโครงการวิจัย -> กระดาษขาว บวกสีเขียว -> รายการร้องขอ กระดาษสีขาวลูกศรสีเขียว-> จะเด้งไปที่หน้าแนบไฟล์ สามารถอัพโหลดไฟล์ที่ต้องการได้ในหน้านี้ และกดส่งเรื่องร้องขอ

6. ขั้นตอนการลงระบบตั้งแต่ต้นจนจบกระบวนการทำอย่างไร
- สามารถดูวิธีการเบื้องต้นในแถบ “ช่วยเหลือ” ด้านบนของหน้าระบบ ROS หรือหากสงสัยเพิ่มเติมกรุณาติดต่อ 053-936643 (Admin ระบบ) หรือมาที่สำนักงานจริยธรรมเพื่อรับบริการช่วยเหลือในการลงทะเบียนในระบบ

7. เอกสารที่ต้อง Printout ออกจากระบบ หากส่ง พิจารณาในที่ประชุม และ พิจารณาแบบเร่งด่วน
- เอกสารที่ต้องส่งเพื่อยื่นขอจริยธรรมการวิจัยแบบพิจารณาในที่ประชุม (เอกสารโครงการวิจัยทั้งหมด จำนวน 6 ชุด) และพิจารณาแบบเร่งด่วน (ส่งแต่บันทึกและฟอร์มไม่ต้องส่งเอกสารโครงการวิจัยมา) ส่งบันทึกข้อความขอรับพิจารณาจริยธรรม, บันทึกข้อความขออนุญาตเก็บข้อมูล/ดำเนินการวิจัยในคณะแพทย์, แบบฟอร์มคำขอจริยธรรมการวิจัย

8. เป็นนักศึกษาแต่ลงแทนอาจารย์ สร้างโครงการแล้ว แต่สร้างรายการร้องขอไม่ได้
- เมื่อลงข้อมูลพื้นฐานโครงการวิจัย 8 steps ได้รหัสโครงการเรียบร้อยแล้ว โทรมาแจ้งรหัสแก่เจ้าหน้าที่ (เบอร์ 053-936643) เพื่อดำเนินการมอบหมายให้ดำเนินการแทนอาจารย์หรือหัวหน้าโครงการวิจัยหลัก

9. ทุนวิจัยใน 8 steps ไม่แน่ใจว่าใส่ไป จะผิดหรือเปล่า ต้องกรอกอย่างไร
- ทุนวิจัยกรอกตามจริง ว่าได้รับทุนภายนอก หรือทุนชื่ออะไร งบประมาณเท่าไหร่ หากเป็นทุนของบริษัทยาระบบจะคำนวณค่า overhead ให้โดยอัตโนมัติ

10. เอกสารที่ printout ออกมาไม่ตรงกับที่กรอกไปต้องทำอย่างไร
- ต้องเซฟไฟล์ที่จะปริ้นส์เป็น word แล้วแก้ไขให้ถูกต้อง แล้วค่อยสั่งปริ้นส์ออกมาจากระบบ

11. เอกสารเข้า full board ต้องส่งกี่ชุด/ เร่งด่วนกี่ชุด
- ถ้าเข้าพิจารณาในที่ประชุม ส่งเอกสารที่เกี่ยวข้องกับโครงการวิจัยทั้งหมด 6 ชุด และพิจารณาแบบเร่งด่วนแนบไฟล์ในระบบ ROS แล้ว ส่งแต่บันทึกข้อความ กับแบบฟอร์มคำขอจริยธรรมฯ

12. ระยะเวลาในการพิจารณาแต่ละกระบวนการนานแค่ไหน
- ทั้งนี้นับจากวันที่สร้างรายการร้องขอพร้อมทั้งแนบไฟล์เอกสารในระบบครบถ้วน แล้วและส่งเอกสารบันทึกข้อความมายังสำนักงานจริยธรรม โดยการพิจารณาในที่ประชุม ใช้เวลาทั้งหมดประมาณ 4 สัปดาห์ และการพิจารณาเร่งด่วนประมาณ 2-3 สัปดาห์

13. ไฟล์ขอทุนต้องแนบอะไรบ้าง
- แนบไฟล์ข้อเสนอโครงการวิจัย, CV ของหัวหน้าโครงการวิจัยและผู้ร่วมวิจัย และหน้างบประมาณ

14. จะขอทุนในระบบ ROS ต้องใช้ชื่ออาจารย์หรือนักศึกษาขอ
- ให้ใช้ชื่ออาจารย์เป็นผู้ขออนุมัติทุนวิจัย (สงสัยเพิ่มเติม ติดต่อ คุณวิภาดา โทร.053-936209)

15. การใส่ชื่อหัวหน้าโครงการวิจัยทำอย่างไร
- ในการกรอกข้อมูลพื้นฐานโครงการวิจัย 8 steps ต้องกดค้นหาหัวหน้าโครงการวิจัย แล้วใส่ชื่อ กดค้นหา และเลือกชื่อหัวหน้าโครงการวิจัยที่ถูกต้อง (หากกรอกผิดสามารถเข้าไปแก้ไขได้โดยกด back)

รายชื่อกรรมการ

      - รายชื่อคณะกรรมการคณะกรรมการจริยธรรมการวิจัย
      - รายชื่อคณะกรรมการจริยธรรมการวิจัย วาระ 2565 - 2566 [TH]
      - รายชื่อคณะกรรมการจริยธรรมการวิจัย วาระ 2565 - 2566 [ENG]

รายชื่อกรรมการ

      รายชื่อคณะกรรมการ-TH
      รายชื่อคณะกรรมการ-EN

ที่อยู่

สำนักงานจริยธรรมการวิจัย คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 110 ถนนอินทวโรรส ตำบลศรีภูมิ อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ 50200
โทรศัพท์
053 – 935279 ต่อ 22: ติดต่อธุรการสำนักงานจริยธรรม
053 – 935279 ต่อ 23: สอบถามข้อมูลเกี่ยวกับ โครงการพิจารณาในที่ประชุม (Full Board)
053 – 936641: สอบถามข้อมูลเกี่ยวกับโครงการพิจารณาแบบเร่งพิเศษ (Expedited)
053 – 936643: โทรสาร
Researchmed@cmu.ac.th , Research.med.cmu@gmail.com

Ethics

Copyright 2017. ethics