Super User

Super User

CC : A 2-month-old male infant was referred to the cardiology service due to cardiomegaly

PI : 5 days before admission the baby was brought in the emergency department because of choking during feeding. Physical examination revealed no dyspnea,O2 sat 97%, HR 148/ min, RR 48/min, PSM grade 3/6 at LLSB and increased P2 intensity. No adventitious sounds of both lungs were heard. Chest X-ray showed cardiomegaly. A pediatric resident was consulted and the impression of VSD was made. The patient was scheduled to the pediatric cardiology clinic for the next 5 days.

PH:  Birth weight 2,200 gm. APGAR 10→10

Feeding: Absolutely breast feeding.  

Family history: 7/7, Hill-tribe baby.  Polished rice is the major food for mother. Mother also has history of numbness of hands and feet.

 

อาการของโรคหัวใจมีอะไรบ้าง?

อาการของโรคหัวใจในเด็กที่อาจพบได้แก่
อาการเขียว สังเกตได้ที่บริเวณริมฝีปาก ลิ้น ปลายนิ้วมือนิ้วเท้าว่ามีสีม่วงคล้ำ เกิดจากการไหลเวียนของเลือดผิดปกติในหัวใจที่พิการมาแต่กำเนิดทำให้เลือดที่มีออกซิเจนต่ำไปเลี้ยงร่างกาย บางคนอาจมีเขียวมากขึ้นเวลาร้อง เวลาเล่นมากๆ หรือตื่นนอนตอนเช้า ถ้าเป็นมากๆอาจพบว่ามีหายใจแรง ตัวอ่อน และไม่รู้สึกตัวได้ เด็กที่มีอาการเขียวมาเป็นระยะเวลานานๆอาจพบปลายนิ้วปุ้มเหมือนกระบองและเล็บงุ้มลงดังในภาพ

        กีวีแท้จริงเป็นผลไม้ดั้งเดิมในประเทศจีน เมื่อต้นศตวรรษที่20ได้มีผู้นำเมล็ดไปปลูกในนิวซีแลนด์จนเป็นที่แพร่หลาย ในระยะหลังมีการปลูกเพื่อการค้าไปทั่ว ทั้งในสหรัฐอเมริกา อิตาลี ชิลี ฝรั่งเศส กรีซ บราซิลหรือแม้แต่ญี่ปุ่น

division-cardiology

 

อาจารย์ประจำสาขาวิชา

แพทย์หญิงยุพดา  พงษ์พรต 
Yupada  Pongprot, M.D.
นายแพทย์กฤช  มกรแก้วเกยูร
Krit  Makonkawkeyoon, M.D.
rekwan sittiwangkul
แพทย์หญิงแรกขวัญ  สิทธิวางค์กูล
Rekwan Sittiwangkul, M.D.
suchaya silvilairat
แพทย์หญิงสุชญา   ศิลป์วิไลรัตน์
Suchaya  Silvilairat, M.D.

เจ้าหน้าที่ประจำสาขาวิชา

panomlak pappring
นางพนมลักษณ์  ภาพพริ้ง 
Panomlak  Pappring
sukunya sutttisrivarakorn 
นางสุกัญญา  สุทธิศรีวรากร
Sukunya  sutttisrivarakorn
putcharee junsiriyotin 
นางสาวพัชรีย์  จันทร์ศิริโยธิน
Putcharee  Junsiriyotin
 
 
Tuesday, 02 October 2012 03:02

Kiwifruit : Potential Health Benefit

        กีวีแท้จริงเป็นผลไม้ดั้งเดิมในประเทศจีน เมื่อต้นศตวรรษที่20ได้มีผู้นำเมล็ดไปปลูกในนิวซีแลนด์จนเป็นที่แพร่หลาย ในระยะหลังมีการปลูกเพื่อการค้าไปทั่ว ทั้งในสหรัฐอเมริกา อิตาลี ชิลี ฝรั่งเศส กรีซ บราซิลหรือแม้แต่ญี่ปุ่น

อาการของโรคหัวใจมีอะไรบ้าง?

อาการของโรคหัวใจในเด็กที่อาจพบได้แก่
อาการเขียว สังเกตได้ที่บริเวณริมฝีปาก ลิ้น ปลายนิ้วมือนิ้วเท้าว่ามีสีม่วงคล้ำ เกิดจากการไหลเวียนของเลือดผิดปกติในหัวใจที่พิการมาแต่กำเนิดทำให้เลือดที่มีออกซิเจนต่ำไปเลี้ยงร่างกาย บางคนอาจมีเขียวมากขึ้นเวลาร้อง เวลาเล่นมากๆ หรือตื่นนอนตอนเช้า ถ้าเป็นมากๆอาจพบว่ามีหายใจแรง ตัวอ่อน และไม่รู้สึกตัวได้ เด็กที่มีอาการเขียวมาเป็นระยะเวลานานๆอาจพบปลายนิ้วปุ้มเหมือนกระบองและเล็บงุ้มลงดังในภาพ

CC : A 2-month-old male infant was referred to the cardiology service due to cardiomegaly

PI : 5 days before admission the baby was brought in the emergency department because of choking during feeding. Physical examination revealed no dyspnea,O2 sat 97%, HR 148/ min, RR 48/min, PSM grade 3/6 at LLSB and increased P2 intensity. No adventitious sounds of both lungs were heard. Chest X-ray showed cardiomegaly. A pediatric resident was consulted and the impression of VSD was made. The patient was scheduled to the pediatric cardiology clinic for the next 5 days.

PH:  Birth weight 2,200 gm. APGAR 10→10

Feeding: Absolutely breast feeding.  

Family history: 7/7, Hill-tribe baby.  Polished rice is the major food for mother. Mother also has history of numbness of hands and feet.

 

บทนำ

การศึกษาวิชากุมารเวชศาสตร์ เป็นการศึกษาต่อเนื่องตั้งแต่การศึกษาของแพทย์ปีที่ 3 จนถึงปีที่ 6 ทั้งยังเป็นวิชาที่เชื่อมโยงคาบเกี่ยวกับภาควิชาอื่น ๆ ในคณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

วัตถุประสงค์ทั่วไปของภาควิชากุมารเวชศาสตร์ สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ของคณะแพทยศาสตร์โดยรวม นั่นคือเพื่อให้บัณฑิตแพทย์


1) มีจรรยาแพทย์ และจริยธรรมอันดีงาม
2) มีความกระตือรือร้น และมีความสามารถที่จะศึกษาต่อ เพื่อแก้ไขปัญหาต่าง ๆ ด้วยตนเอง
3) สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่น ในการพัฒนาชุมชน โดยเฉพาะทางด้านสุขภาพ และอนามัย
4) มีความรู้ ความสามารถทางวิชาชีพ

 


ภาควิชากุมารเวชศาสตร์ ได้จัดหลักสูตรการเรียนการสอนนักศึกษาแพทย์เป็น 4 ระยะ ดังนี้

 

ระยะที่ 1 นักศึกษาแพทย์ปี 3 สอนร่วมกับกระบวนวิชา พ.คพ. 331301 (ภาควิชาอายุรศาสตร์) เป็นการสอนบรรยาย 1 ชั่วโมง ตอนต้นของกระบวนวิชา และภาคปฏิบัติ บ่ายวันพุธ (13.00 - 16.00 น.) ทุกวันพุธ รวม 10 สัปดาห์
ระยะที่ 2 นักศึกษาแพทย์ปีที่ 4 จำนวน 4 สัปดาห์ (4 (1-18-0) หน่วยกิต) เป็นทั้งการเรียนทั้งภาคทฤษฎี และปฏิบัติที่หอผู้ป่วยใน ภาควิชากุมารเวชศาสตร์
ระยะที่ 3 นักศึกษาแพทย์ปีที่ 5 จำนวน 4 สัปดาห์ (4 (1-18-0) หน่วยกิต) เป็นทั้งการเรียนทั้งภาคทฤษฎี และปฏิบัติที่หอผู้ป่วยใน หอทารกแรกเกิด หอผู้ป่วยนอก ภาควิชากุมารเวชศาสตร์
ระยะที่ 4 นักศึกษาแพทย์ปีที่ 6 จำนวน8 สัปดาห์ (8 (0-48-0) หน่วยกิต) ปฏิบัติงานที่คณะแพทยศาสตร์ 4 สัปดาห์ และโรงพยาบาลสมทบ 4 สัปดาห์ เป็นการเรียนที่เน้นหนักในปฏิบัติโดยนำความรู้ทางทฤษฎีมาประยุกต์ ที่หอผู้ป่วยใน หอทารกแรกเกิด หอผู้ป่วยนอก ห้องฉุกเฉิน ของภาควิชากุมารเวชศาสตร์ และโรงพยาบาลสมทบ


วัตถุประสงค์



วัตถุประสงค์ทางด้านความรู้ความสามารถทางวิชาชีพเพื่อบัณฑิิตแพทย์
ของภาควิชากุมารเวชศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

( ดัดแปลง มาจากเกณฑ์มาตรฐานผู้ประกอบอาชีพ เวชกรรม ของแพทยสภา พ.ศ. 2536 )

นักศึกษาสามารถนำ ความรู้ทางวิทยาศาสตร์การแพทย์พื้นฐาน ความรู้ทางวิทยาศาสตร์การแพทย์คลินิก และ ทักษะในการซักประวัติ การตรวจร่างกาย การตรวจทางห้องปฏิบัติการ และหัตถการต่างๆ มาประยุกต์ ใช้ในการวินิจฉัย การปฏิบัติรักษา การฟื้นฟูสภาพผู้ป่วยและการป้องกัน ปัญหาทางสุขภาพในเด็ก ที่พบได้บ่อย และ/หรือ มีความสำคัญในประเทศไทยได้อย่างเหมาะสมดังนี้

1. อาการสำคัญ/ปัญหาที่นำผู้ป่วยมาพบแพทย์
2.
โรค/ภาวะ/กลุ่มอาการที่มักเป็นสาเหตุของอาการสำคัญ หรือปัญหาที่นำผู้ป่วยมาพบแพทย์
3. การตรวจโดยใช้เครื่องมือแพทย์พื้นฐาน เครื่องมือพิเศษ และการตรวจทางห้องปฏิบัติการ
4.
หัตถการที่จำเป็นหรือมีส่วนช่วยในการแก้ปัญหาทางสุขภาพ

 


 

1.อาการสำคัญ/ปัญหาที่นำผู้ป่วยมาพบแพทย์: ต้องมีความรู้เกี่ยวกับพยาธิกำเนิด พยาธิสรีรวิทยา สามารถ วินิจฉัยแยกโรค และ สามารถปฏิบัติรักษาเบื้องต้นได้เหมาะสม สำหรับอาการสำคัญ
หรือกลุ่มของอาการสำคัญดังต่อไปนี้

ปัญหาพฤติกรรมในเด็ก
หอบเหนื่อย เขียวคล้ำ
คอพอก ภาวะพร่องไทรอยด์แต่กำเนิด
ก้อนที่คอ
การสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค
ภาวะผิดรูป
พัฒนาการปกติและผิดปกติ 
การเจริญเติบโตปกติและผิดปกติ
คลื่นไส้ อาเจียน กลืนลำบาก ท้องผูก
ท้องเดิน ปวดท้อง ท้องอืด
อุจจาระเป็นเลือด อุจจาระดำ อาเจียนเป็นเลือด
ตาเหลือง ตัวเหลือง
ท้องโต
ก้อนเนื้องอก
ซีด
ต่อมน้ำเหลืองโต
เลือดออกง่าย
ไข้
ไข้ออกผื่น

ความผิดปกติ, ผิดรูปแต่กำเนิด
ตัวเหลืองในเด็กแรกเกิด
ท้องอืด, อาเจียน, ถ่ายเป็นเลือด ในเด็กแรกเกิด
ทารกคลอดก่อนกำหนด, หลังกำหนด
ปัญหาจากการคลอดในทารก
ภาวะหายใจผิดปกติในเด็กแรกเกิด
กลั้นปัสสาวะไม่ได้ ปัสสาวะมีเลือดปน
บวม
ปัสสาวะลำบาก ปัสสาวะขัด ปัสสาวะบ่อย ปัสสาวะสีผิดปกติ
กล้ามเนื้ออ่อนแรง
ชัก
ซึม ไม่รู้สต
ปวดศีรษะ เวียนศีรษะ
เจ็บคอ คัดจมูก น้ำมูกไหล จาม เลือดกำเดาออก
หอบเหนื่อย ไอ
ผื่น คัน
รอยโรคที่ผิวหนังที่พบใน systemic diseases
ผื่นในเด็กแรกเกิด

 

2.โรค/ภาวะ/กลุ่มอาการที่มักเป็นสาเหตุของอาการสำคัญ หรือปัญหาที่นำผู้ป่วยมาพบแพทย์

   2.1โรค/ภาวะ/กลุ่มอาการ ฉุกเฉิน : ต้องรู้ และสามารถปฏิบัติรักษาได้อย่างเหมาะสม และทันท่วงที

status asthmaticus
cardiac arrest, cardiac arrythmia, syncope
heart failure
child abuse
sepsis/ meningitis
acute abdomen (surgery)
massive upper GI hemorr. , hepatic failure
bleeding (APCD, hemophilia, disseminated intravascular clotting)
severe anemia
shock (hypovolemic, anaphylactic, septic, cardiogenic)
diabetic ketoacidosis
hyperkalemia, hyponatremia
hypoglycemia
metabolic acidosis
acute hypertension (AGN)
anuria (oliguria, acuted urinary retention)
acute poisoning (insect sting, poisonous snake, poisonous plants, mushroom, organophosphate, carbamate, paraquat,amphetamine, gasoline poisoning)

acute increased intracranial pressure
coma 
convulsion, status epilepticus
vit A defficiency (xerophthalmia), beriberi
injury (submersion, electrical injury)
pneumothorax
pulmonary edema , drowning , near drowning
respiratory arrest
respiratory obstruction, suffocation
superior vena cava obstruction
drug allergy (angioedema, erythema multiform etc..)
neonatal metabolic disorders (hypoglycemia, hypocalcemia, hypothermia)
neonatal respiratory distress
perinatal asphyxia
shock in neonate
neonatal convulsion
 

    2.2โรค/ภาวะ/กลุ่มอาการ ที่พบบ่อย และ/หรือ มีความสำคัญในประเทศไทย : ต้องมีความรู้ความสามารถให้การ วินิจฉัย รักษา  ฟื้นฟูสภาพ ให้คำแนะนำ และป้องกันได้เหมาะสมตามสถานการณ์และสถานภาพ แบ่งได้ ดังนี้

       I. INFECTIOUS AND PARASITIC DISEASES
            Bacteria

Staphylococcus aureus
nontyphoidal Salmonella (gastroenteritis, septicemia)
rickettsiosis (scrub typhus, murine typhus)
Streptococcus (scarlet fever, erysipelas, impetigo)
H. influenzae
pertussis (whooping cough)
Shigella
S. pneumoniae (pneumococcal)
tuberculosis (childhood tuberculosis)
tetanus neonatorum
diphtheria
typhoid and paratyphoid fever
group B streptococcus, GNR (in neonates)
syphilis (congenital syphilis)

            Virus

dengue hemorrhagic fever, chikungunya fever
human immunodeficiency virus (HIV) infections (AIDS)
herpes simplex infections
exanthem subitum
rabies
cytomegalovirus (congenital and acquired)
enterovirus (poliovirus, coxackie virus..)
varicella-zoster virus
measles
rubella
infectious mononucleosis (EB virus)
Japanese encephalitis
mumps 
viral hepatitis (A,B…) (prevention in NB)

          Fungus

systemic mycoses (candidiasis, cryptococcosis, aspergillosis, penicillosis) superficial mycoses (tinea, pityriasis versicolor, candidosis)

          Parasite

Pneumocystis carinii (in HIV-infected children)
ectoparasites (pediculosis, scabies)
intestinal parasites
malaria (treatment of malaria)
tissue parasites (cysticercosis, toxoplasmosis)

       Other unclassified pathogens: mycoplasma, chlamydia

       Other: immunization

       II. NEOPLASM

          Leukemia
          Malignancy (Wilms' tumor, neuroblastoma, Hodgin' s diseases, Non-hodgin lymphoma, soft tissue sarcoma, etc)

       III. DISEASES OF BLOOD AND BLOOD FORMING ORGANS AND DISODERS INVOLVING THE IMMUNE MECHANISM

          anemia

hemolytic anemias
Iron deficiency anemia
ABO incompatibility
aplastic anemia

          hemorrhagic disorders

acquired prothrombin complex deficiency (APCD)
hemophilia
methemoglobinemia
acquired platelet dysfunction with eosinophilia (APDE)
consumption coagulopathy

          some immune deficiency states (neutropenia, hypogammaglobulinemia, CGD etc.)

aneutropenia
chronic granulomatous disease of childhood
hypogammaglobulinemia

       IV. ENDOCRINE, NUTRITIONAL AND METABOLIC DISEASES

          Endocrine

goiter
iodine deficiency
hypothyroidism
thyrotoxicosis
diabetes mellitus
ambiguous genitalia
Cushing syndrome

          Nutrition

infant feeding
vitamin deficiency (A, B, C, D, E, K)
enteral and parenteral feeding
disorders of lipoprotein metabolism and lipidemias
protein-energy malnutrition
obesity

          Metabolic

disorders of fluid, electrolyte and acid-base balance  

       V. MENTAL AND BEHAVIOURAL DISORDERS

behavioural and emotional disorders in childhood and adolescence (conduct disorder, tic disorder, enuresis, feeding disorder, nail biting, thumb sucking)
mental retardation
psychological development (normal and common disorders : speech and language disorder, disorder of scholastic skills, motor function disorder)

      VI. DISORDERS OF THE NERVOUS SYSTEM

meningitis
encephalitis & myelitis
brain abscess
epilepsy
migraine
tension headache
facial nerve paralysis
polyneuropathies (poliomyelitis,Guillain-Barre syndrome, systemic diseases, chemicals)
myasthenia gravis
myopathy and periodic paralysis
hemiplegia, paraplegia, tetraplegia
cerebral palsy
Reye syndrome
hydrocephalus (macrocephaly)
microcephaly, spinal cord disorders (transeverse myelitis, epidural abscess)

       VII. DISORDERS OF THE CIRCULATORY SYSTEM

rheumatic fever
congenital heart diseases
cyanosis, cyanotic spell
heart failure
hypertension
hypotension
pericarditis, myocarditis, endocarditis

       VIII.. DISORDERS OF THE RESPIRATORY SYSTEM

            Upper respiratory tract infection

croup
nasopharyngitis
pharyngitis
sinusitis
tonsillitis
adenoid hypertrophy
laryngitis
otitis media
peritonsillar abscess
retropharyngeal abscess
tracheitis
epiglotitis

            Lower respiratory tract infection

bronchiolitis
pneumonia (acute, recurrent)
bronchiectasis
bronchitis
pulmonary tuberculosis
lung abcess

            Other diseases

asthma
allergic rhintis
near-drowning
congenital anomalies
foreign body aspiration
mediastinal mass
chronic lung disease (bronchopulmonary dysplasia)

            Symptomatology

cough
atelectasis
respiratory failure
pleurisy, pleural effusion, empyema
pneumothorax
acute respiratory distress syndrome
hemoptysis

       IX. DISORDERS OF THE DIGESTIVE SYSTEM

acute chronic diarrhea
dental caries, gingivitis and periodontal diseases
anal fissure, fistula in ano, perianal abscess
dyspepsia
gastrointestinal hemorrhage
malabsorbtion + lactase deficiency
oral ulcer (apthous ulcer, stomatitis, glossitis, thrush)
prolonged neonatal jaundice + biliary atresia
intestinal obstruction + Hirsprung intussusception, pyloric stenosis
cirrhosis
disorders of tooth development and eruption
food intolerance
gastroesphageal reflux
hepatic failure
acute appendicitis
peptic ulcer, gastritis
peritonitis

       X. DISORDERS OF THE SKIN AND SUBCUTANEOUS TISSUE

common skin infection
dermatitis
drug rashes
common cutaneous manifestations in systemic diseases
common skin problems in newborns
fever with rash (viral exanthems, kawasaki disease, SSSS, scarlet fever,toxic shock syndrome, drug hypersensitivity, etc…)
papulosquamous disorders
hemangioma

       XI. DISORDERS OF THE MUSCULOSKELETAL SYSTEM AND CONNECTIVE TISSUE

rheumatoid arthritis
systemic lupus erythematosus
myositis (pyomyositis)
osteomyelitis
septic arthritis

       XII. DISORDERS OF THE GENITOURINARY SYSTEM

nephritic syndrome (acute & chronic glomerulonephritis)
renal tubulo-interstitial diseases (pyelonephritis, interstitial nephritis, renal-tubular acidosis, obstructive & reflux uropathy)
nephrotic syndrome
renal failure (acute, chronic)

       XIII. CERTAIN CONDITIONS ORIGINATING IN THE PERINATAL PERIOD

            General

Physical examination, Gastational age evaluation
Routine delivery and nursery care
Perinatal mortality, High-risk pregnancy & fetus
Birth defects, malformations, deformations and syndromes
High risk neonate (prematurity, IUGR, low birh weight, postterm infant, twin pregnancy etc.)
General neonatal care (temperature support, breast feeding, fluid-electrolyte management)

            Disorder of organ systems

Infection: - bacterial (sepsis, pneumonia, conjunctivitis syphilis)
- viral (HIV,rubella, CMV, herpes, varicella)
CNS: birth asphyxia, birth injury, seizure
Respiratory: respiratory distress syndrome, transient tachypnea of the newborn, pneumonia,
meconium aspiration syndrome, persistent pulmonary hypertension in the newborn
bronchopulmonary dysplasia
Hematologic: normal hematologic value in the newborn, blood group incompatibility, anemia in newborn
hemorrhagic disease of the newborn
Gastrointestinal: necrotizing enterocolitis
hyperbilirubinemia (unconjugate , conjugate)
intestinal obstruction, gastrointestinal hemorrhage
Metabolic: hypoglycemia, hyperglycemia, hypocalcemia, hypothermia
Endocrine: thyroid disorders, abnormal of sexual differentiation
Kidney: 
										
acute renal failure, congenital malformation of urinary system
Skin: normal skin lesion in the newborn, common skin lesion in neonate
bacterial, yeast infection of skin
Orthopedic: traumatics injuries, torticollis, hip dislocation

       XIV. CONGENITAL MALFORMATIONS, DEFORMATIONS AND CHROMOSOMAL ABNORMALITIES

encephalocoele, hydrocephalus
preauricular sinus branchial cleft, cyst, sinus
congenital malformation of heart
cleft lip, cleft palate, thyroglossal duct cyst
tracheo-esophageal fistula
disphragmatic hernia
congenital hypertrophic pyloric stenosis
hypospadias, undescended testis, ambiguous genitalia
polydactyly, club foot, congenital dislocation of hip
omphalocoele
chromosomal abnormalities (Down syndrome)
congenital megacolon, imperforate anus, omphalocoele, gastroschisis

       XV. INJURY, POISONING AND CONSEQUENCE OF EXTERNAL CAUSES

lead
iron
paracetamol, salicylate, antiemetic drugs
household poisonings

3. การตรวจโดยใช้เครื่องมือแพทย์พื้นฐาน เครื่องมือพิเศษ และการตรวจทางห้องปฏิบัติการ

    3.1  การตรวจที่ต้องรู้ข้อบ่งชี้ของการตรวจ เข้าใจวิธีการตรวจ สามารถกระทำได้ด้วยตนเอง และสามารถแปลผลการตรวจได้ถูกต้อง สำหรับโรค / ภาวะ / กลุ่มอาการที่พบบ่อย หรือมีความสำคัญ
          การตรวจผู้ป่วยโดยใช้เครื่องมือต่อไปนี้
stethoscope sphygomanometer (BP measurement, touniquet test)
otoscopy
electrocardiography
         การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
การ ตรวจเลือด : (ฮีมาโตคริต, นับเม็ดเลือดขาว, ตรวจสเมียร์เลือด, นับแยกชนิดของเม็ดเลือดขาว, ตรวจหาเชื้อมาลาเรีย, แปลผลสเมียร์เลือด
การตรวจปัสสาวะและสารน้ำต่างๆ ในร่างกาย (น้ำไขสันหลัง น้ำในช่องท้อง น้ำในช่องปอด น้ำจากข้อ)
ตรวจหาน้ำตาล โปรตีน น้ำดี คีโตน ความถ่วงจำเพาะ ตรวจตะกอนทางจุลทรรศน์
การตรวจอุจจาระ : ตรวจหาเลือด (occultblood) เม็ดเลือดแดง เม็ดเลือดขาว ปรสิต และไข่ปรสิต
การตรวจหาเชื้อก่อโรคจากสิ่งส่งตรวจต่างๆ ได้แก่ เสมหะ หนอง น้ำจากช่องต่างๆ ของร่างกาย และปัสสาวะ
ด้วยการย้อมสีกรัมและสีทนกรด, Tzanck stain, KOH stain stain
    3.2  การตรวจที่ต้องรู้ข้อบ่งชี้ของการตรวจ เข้าใจวิธีการตรวจ สามารถเตรียมผู้ป่วยสำหรับการตรวจ และสามารถแปลผล การตรวจได้ถูกต้องสำหรับโรค / ภาวะ/ กลุ่มอาการที่พบบ่อย หรือมีความสำคัญ
ภาพรังสีทรวงอก
ภาพรังสีช่องท้อง
ultrasonography ของช่องท้อง และอุ้งเชิงกราน
ภาพรังสีกระดูกและข้อ
ภาพรังสีกระโหลกศีรษะ และโพรงจมูก
    3.3 การตรวจที่ต้องรู้ข้อบ่งชี้ของการตรวจ สามารถเตรียมผู้ป่วยสำหรับการตรวจ และ / หรือเก็บตัวอย่างตรวจได้ถูกต้อง และสามารถแปลผล รายงานการตรวจได้ถูกต้อง
การตรวจทางชีวเคมี
การตรวจทางจุลชีววิทยา
การตรวจทางพยาธิวิทยา
การตรวจทางโลหิตวิทยา
การตรวจทางอิมมูโนวิทยา

การทดสอบการเจริญเติบโตและพัฒนาการ
radiocontrast media study
rediocactive substance imaging
computerized tomography
magnetic resonance imaging

4.  หัตถการที่จำเป็นหรือมีส่วนช่วยในการแก้ปัญหาทางสุขภาพ ได้แก่

    4.1 หัตถการพื้นฐานทางคลินิค : ผู้ประกอบวิชาชีพเวชกรรมต้องรู้ข้อบ่งชี้ของการทำ เข้าใจวิธีการทำ รู้ภาวะแทรกซ้อน ที่อาจจะเกิดขึ้น และเคยทำด้วยตนเอง

       4.1.1 Ëหัตถการพื้นฐานทั่วไป ได้แก่

venepuncture
parenteral fluid transfusion  
injection of drugs (subcutaneous, intramuscular, intradermal, intravenous)
blood transfusion
arterial puncture
endotracheal intubation
cardio-pulmonary resuscitation, ÃÇÁ·Ñé§ newborn
oxygen therapy
gastric intubation and lavage
urethral catheterization
suprapubic aspiration
tuberculin test
tourniquet test
anthropometry (body weight, height, head circumference)
       4.1.2 หัตถการพื้นฐานเฉพาะทาง ได้แก่
                   incubator                                     lumbar puncture                             phototherapy  
    4.2 หัตถการเฉพาะทางที่มีความซับซ้อนกว่าหัตถการพื้นฐาน และมีความสำคัญต่อการรักษา โดยเฉพาะในภาวะฉุกเฉิน : ผู้ประกอบวิชาชีพเวชกรรมรู้ข้อบ่งชี้ของการทำ เข้าใจวิธีการทำและรู้ภาวะแทรกซ้อนที่อาจจะเกิด
       4.2.1 หัตถการที่เคยทำด้วยตนเอง :  paracentesis (abdominal, pleural)
       4.2.2 หัตถการที่เคยช่วยทำ หรือเคยเห็น และอาจทำได้ในกรณีที่จำเป็น
   peritoneal dialysis                              bone marrow aspiration                   umbilical catheterization


พ.คพ.331301

 พ.คพ.331301 (กุมารเวชศาสตร์)
ปีการศึกษา 2555


กระบวนวิชา พ.คพ.331301 : วิธีการตรวจร่างกายและวินิจฉัยโรค
เนื้อหาหลักสูตรสำหรับนักศึกษาแพทย์ปี 3 ปีการศึกษา 2552
การเรียน การสอนและการปฏิบัติงานของส่วนภาควิชากุมารเวชศาสตร์
 

           เป็นกระบวนวิชาเกี่ยวกับ การซักประวัติ การตรวจร่างกายผู้ป่วย (มีทั้งการปาฐกถาและสาธิตถึงเทคนิค และให้ทดลองตรวจด้วยตนเอง) เป็นการสอนนักศึกษาแพทย์ปีที่ 3 ช่วงปลายปีการศึกษา เฉพาะวันอังคาร และวันศุกร์ นาน 3 สัปดาห์(ธันวาคม 2552 - มกราคม 2553)

วัตถุประสงค์การเรียนการสอน ของส่วนภาควิชากุมารเวชศาสตร์
1. เพื่อให้นักศึกษาแพทย์ได้ทราบและเข้าใจถึงบทบาทของแพทย์ต่อการดูแลผู้ป่วยเด็ก
2. เพื่อให้นักศึกษาแพทย์สามารถเข้สใจถึงพัฒนาการ และการเจริญเติบโตอย่างปกติในเด็ก และสามารถประเมินการเจริญเติบโตที่ปกติในเด็กได้
3. เพื่อให้นักศึกษาแพทย์สามารถทราบถึงแนวทางในการสร้างสัมพันธภาพที่ดีกับเด็ก และเตรียมความพร้อมสำหรับกระบวนวิชากุมารเวชศาสตร์ 404 อันจะนำมาสู่การซักประวัติ และตรวจร่างกายที่ถูกต้องต่อไป
4. เพื่อให้นักศึกษาแพทย์สามารถเขียนรายงานทางการแพทย์ได้อย่างครบถ้วนและถูกต้อง

วิธีการจัดการเรียนการสอนภาคปฏิบัติกับผู้ป่วย
นักศึกษาแพทย์เวียนมาอยู่ที่ภาควิชากุมารเวชศาสตร์ ครั้งละ 75 - 76 คน กลุ่มละ1 สัปดาห์ รวม 3 กลุ่ม (3 สัปดาห์) ภาควิชากุมารเวชศาสตร์ จัดแบ่งนักศึกษาแพทย์ 75 - 76 คนนี้เป็น 6 กลุ่มย่อย กลุ่มละ 12 - 13 คน จัดให้มีอาจารย์ผู้ดูแล 1 ท่านต่อนักศึกษา 6 กลุ่มย่อย นาน 1 สัปดาห์

วิธีการสอน ทุกวันตั้งแต่ 9.30 - 12.00 และ 13.00 - 14.30 น.
วันอังคาร และวันศุกร์
1. Orientation (10.00 - 12.00 น.) แจ้งให้ทราบถึงวิธีการเรียนการสอน แนะนำสถานที่ บุคคล อธิบายรายละเอียดของวิธีการซักประวัติ Hx (อ.แรกขวัญ สิทธิวางค์กูล) และการตรวจร่างกาย(อ.ประไพ เดชคำรณ) ของการเขียนรายงาน แนะนำหนังสือที่จะใช้แจ้งให้ทราบถึงเป้าหมายของนักศึกษาแพทย์ ในการเรียนการสอนของภาควิชากุมารเวชศาสตร์
2. Demonstration เกี่ยวกับการตรวจร่างกายที่ปกติ (13.00 - 14.30 น.) โดยแบ่ง นักศึกษาแพทย์เป็น 6 กลุ่มใหญ่
3. Chief resident จะจ่ายผู้ป่วยให้นักศึกษาแพทย์แต่ละกลุ่มย่อยกลุ่มละ 1 คน
วันศุกร์ อาจารย์ผู้ดูแลประเมินผลนักศึกษาแพทย์ (ให้คะแนนเต็ม 10 คะแนน)
วันเสาร์ - วันอาทิตย์ ขึ้นดูแลผู้ป่วยตามอัธยาศัย

กำหนดการสอบกระบวนวิชา พ.พค.311301
ภาคทฤษฎี วันอังคาร ที่  กุมภาพันธ์ 2556 เวลา 09.00 - 12.00 น. ณ อาคารสันทนาการ
ภาคปฏิบัติ (OSCE) วันพุธ ที่  กุมภาพันธ์ 2556 เวลา 08.30 - 15.10 น. ณ ชั้น 9 อาคารเรียนรวมราชนครินทร์

พ.คพ.331404

 

กระบวนวิชา พ.คพ.331404:กุมารเวชศาสตร์ตามระบบและกุมารเวชศาสตร์
พ.ศ. 2555
 HANDAR4
 
คู่มือการเรียนและการปฏิบัติงาน ที่ภาควิชากุมารเวชศาสตร์ ปีการศึกษา 2555  pdf
 HANDAR4
ตารางการปฏิบัติงาน pdf
 HANDAR4 Topics pdf (Activity with staff)

 

พ.คพ.331504



กระบวนวิชา พ.คพ.331504:กุมารเวชศาสตร์ตามระบบและกุมารเวชศาสตร์
พ.ศ. 2555
HANDAR4

คู่มือการเรียนและการปฏิบัติงาน ที่ภาควิชากุมารเวชศาสตร์ ปีการศึกษา 2555 pdf
HANDAR4
ตารางการปฏิบัติงาน  pdf
HANDAR4

Topics pdf (Activity with staff) 


พ.วป.332604



กระบวนวิชา พ.วป.332604:กุมารเวชศาสตร์ตามระบบและกุมารเวชศาสตร์
พ.ศ. 2555

HANDAR4
คู่มือการเรียนและการปฏิบัติงาน ที่ภาควิชากุมารเวชศาสตร์ ปีการศึกษา 2555 pdf
HANDAR4
ตารางการปฏิบัติงาน pdf  
HANDAR4
Topics pdf (Activity with staff) 

 

การพิจารณาเลือกซื้ออาหารสำหรับเด็ก

กลุ่มบุคลากรภาควิชากุมารเวชศาสตร์

education
administrator
edusupport
Page 1 of 4

Our Vision

Contact Us

  • ภาควิชากุมารเวชศาสตร์ 
    คณะแพทยศาสตร์
    มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
    อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ 50200 
     
  • โทรศัพท์  053-935413-15, 053-936473

     
    Facebook for Pediatrics