หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต (หลักสูตรนานาชาติ)
หลักสูตร

หลักสูตรแบบ 1.1   จำนวนหน่วยกิต  รวมตลอดหลักสูตร              48      หน่วยกิต

หลักสูตรแบบ 1.2   จำนวนหน่วยกิต  รวมตลอดหลักสูตร              72      หน่วยกิต

หลักสูตรแบบ 2.1   จำนวนหน่วยกิต  รวมตลอดหลักสูตร     ไม่น้อยกว่า       48      หน่วยกิต

หลักสูตรแบบ 2.2   จำนวนหน่วยกิต  รวมตลอดหลักสูตร     ไม่น้อยกว่า       72      หน่วยกิต

แบบ 1.1 สำหรับนักศึกษาที่สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาโท
จํานวนหน่วยกิตรวมตลอดหลักสูตร 48 หน่วยกิต

317898 ดุษฎีนิพนธ์ 48 หน่วยกิต

1. นักศึกษาจะต้องจัดสัมมนาเป็นภาษาอังกฤษและนําเสนอผลงานที่เกี่ยวข้องกับดุษฎีนิพนธ์ใน การสัมมนา อย่างน้อยภาคการศึกษาละ 1 ครั้ง เป็นจํานวนไม่น้อยกว่า 6 ภาคการศึกษา และ นักศึกษาจะต้องเข้าร่วมสัมมนาทุกครั้งตลอดระยะเวลาการศึกษา

2. เข้าร่วมการอบรมจริยธรรมการวิจัยในมนุษย์ จรรยาบรรณการใช้สัตว์ทดลองที่คณะหรือ มหาวิทยาลัยจัด ตามคําแนะนําของอาจารย์ที่ปรึกษา

3. ผลงานดุษฎีนิพนธ์หรือส่วนหนึ่งของดุษฎีนิพนธ์ได้รับเผยแพร่ หรืออย่างน้อยได้รับการตอบรับ ให้เผยแพร่ในวารสารระดับนานาชาติ ที่มีชื่อนักศึกษาเป็นชื่อแรก อย่างน้อย 2 เรื่อง โดย 1 เรื่อง ต้องอยู่ในฐานข้อมูล ISI, Scopus, IEEE, PubMed หรือ Web of Science หรือ มีการ จดสิทธิบัตรตามประกาศของบัณฑิตวิทยาลัย

4. เสนอผลงานดุษฎีนิพนธ์หรือส่วนหนึ่งของผลงานดุษฎีนิพนธ์ในการประชุมวิชาการระดับ นานาชาติที่เป็นที่ยอมรับในสาขาวิชา อย่างน้อย 1 เรื่อง

5. รายงานความก้าวหน้าการทําดุษฎีนิพนธ์ต่อที่ประชุมภาควิชา ทุกภาคการศึกษา

6. นักศึกษาต้องรายงานผลการศึกษาตามแบบรายงานผลของบัณฑิตวิทยาลัยทุกภาคการศึกษา โดยผ่านความเห็นชอบของประธานกรรมการบัณฑิตศึกษาประจําคณะและรวบรวมส่งบัณฑิต วิทยาลัยทุกภาคการศึกษา

1. ตามเงื่อนไขของบัณฑิตวิทยาลัย    ภาษาอังกฤษ

2. นักศึกษาอาจเลือกเรียนบางวิชาเพิ่มเติมตามที่อาจารย์ที่ปรึกษาแนะนํา โดยลงทะเบียน แบบ visitor (V)

1. นักศึกษาจะต้องสอบวัดคุณสมบัติเพื่อประเมินความพร้อมและความสามารถเพื่อมีสิทธิ์เสนอ โครงร่างปริญญานิพนธ์

2. นักศึกษาที่สอบไม่ผ่าน มีสิทธิสอบแก้ตัวได้อีก 1 ครั้ง โดยต้องยื่นคําร้องขอสอบใหม่ การสอบ แก้ตัวต้องสอบให้เสร็จสิ้นภายใน 1 ภาคการศึกษาถัดไปนับจากการสอบครั้งแรก

แบบ 1.2 สําหรับนักศึกษาที่สําเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรี
จํานวนหน่วยกิตรวมตลอดหลักสูตร 72 หน่วยกิต

317897 ดุษฎีนิพนธ์ 72 หน่วยกิต

1. นักศึกษาจะต้องจัดสัมมนาเป็นภาษาอังกฤษและนําเสนอผลงานที่เกี่ยวข้องกับดุษฎีนิพนธ์ใน การสัมมนา อย่างน้อยภาคการศึกษาละ 1 ครั้ง เป็นจํานวนไม่น้อยกว่า 10 ภาคการศึกษา และ นักศึกษาจะต้องเข้าร่วมสัมมนาทุกครั้งตลอดระยะเวลาการศึกษา

2. เข้าร่วมการอบรมจริยธรรมการวิจัยในมนุษย์ จรรยาบรรณการใช้สัตว์ทดลองที่คณะหรือ มหาวิทยาลัยจัด ตามคําแนะนําของอาจารย์ที่ปรึกษา

3. ผลงานดุษฎีนิพนธ์หรือส่วนหนึ่งของดุษฎีนิพนธ์ได้รับเผยแพร่ หรืออย่างน้อยได้รับการตอบรับ ให้เผยแพร่ในวารสารระดับนานาชาติ ที่อยู่ในฐานข้อมูล ISI, Scopus, IEEE, PubMed หรือ Web of Science โดยมีนักศึกษาเป็นชื่อแรก อย่างน้อย 2 เรื่อง หรือ มีการจดสิทธิบัตรตาม ประกาศของบัณฑิตวิทยาลัย

4. เสนอผลงานดุษฎีนิพนธ์หรือส่วนหนึ่งของผลงานดุษฎีนิพนธ์ในการประชุมวิชาการระดับ นานาชาติที่เป็นที่ยอมรับในสาขาวิชา อย่างน้อย 1 เรื่อง

5. รายงานความก้าวหน้าการทําดุษฎีนิพนธ์ต่อที่ประชุมภาควิชา ทุกภาคการศึกษา

6. นักศึกษาต้องรายงานผลการศึกษาตามแบบรายงานผลของบัณฑิตวิทยาลัยทุกภาคการศึกษา โดยผ่านความเห็นชอบของประธานกรรมการบัณฑิตศึกษาประจําคณะและรวบรวมส่งบัณฑิต วิทยาลัยทุกภาคการศึกษา

1. ตามเงื่อนไขของบัณฑิตวิทยาลัย    ภาษาอังกฤษ

2. นักศึกษาอาจเลือกเรียนบางวิชาเพิ่มเติมตามที่อาจารย์ที่ปรึกษาแนะนํา โดยลงทะเบียน แบบ visitor (V)

1. นักศึกษาจะต้องสอบวัดคุณสมบัติเพื่อประเมินความพร้อมและความสามารถเพื่อมีสิทธิ์เสนอ โครงร่างปริญญานิพนธ์

2. นักศึกษาที่สอบไม่ผ่าน มีสิทธิสอบแก้ตัวได้อีก 1 ครั้ง โดยต้องยื่นคําร้องขอสอบใหม่ การสอบ แก้ตัวต้องสอบให้เสร็จสิ้นภายใน 1 ภาคการศึกษาถัดไปนับจากการสอบครั้งแรก

3. นักศึกษาที่สอบไม่ผ่านการสอบวัดคุณสมบัติ คณะกรรมการบริหารหลักสูตรบัณฑิตศึกษา ประจําสาขาวิชาอาจพิจารณาให้โอนเป็นนักศึกษาระดับปริญญาโทได้

แบบ 2.1 สําหรับนักศึกษาที่สําเร็จการศึกษาระดับปริญญาโท
จํานวนหน่วยกิตรวมตลอดหลักสูตร 48 หน่วยกิต

317899 ดุษฎีนิพนธ์     36    หน่วยกิต

1. ตามเงื่อนไขของบัณฑิตวิทยาลัย    ภาษาอังกฤษ

2. ตามเงื่อนไขของสาขาวิชา

1. นักศึกษาจะต้องสอบวัดคุณสมบัติเพื่อประเมินความพร้อมและความสามารถเพื่อมีสิทธิ์เสนอโครงร่างปริญญานิพนธ์

2. นักศึกษาที่สอบไม่ผ่าน มีสิทธิสอบแก้ตัวได้อีก 1 ครั้ง โดยต้องยื่นคำร้องขอสอบใหม่   การสอบแก้ตัวต้องสอบให้เสร็จสิ้นภายใน 1 ภาคการศึกษาถัดไปนับจากการสอบครั้งแรก

1. นักศึกษาจะต้องจัดสัมมนาเป็นภาษาอังกฤษและนำเสนอผลงานที่เกี่ยวข้องกับดุษฎีนิพนธ์ในการสัมมนา อย่างน้อยภาคการศึกษาละ 1 ครั้ง เป็นจำนวนไม่น้อยกว่า 3 ภาคการศึกษา และนักศึกษาจะต้องเข้าร่วมสัมมนาทุกครั้งตลอดระยะเวลาการศึกษา

2. เข้าร่วมการอบรมจริยธรรมการวิจัยในมนุษย์ จรรยาบรรณการใช้สัตว์ทดลองที่คณะหรือมหาวิทยาลัยจัด ตามคำแนะนำของอาจารย์ที่ปรึกษา

3. ผลงานดุษฎีนิพนธ์หรือส่วนหนึ่งของดุษฎีนิพนธ์ได้รับเผยแพร่ หรืออย่างน้อยได้รับการตอบรับให้เผยแพร่ในวารสารระดับนานาชาติ ที่อยู่ในฐานข้อมูล ISI, Scopus, IEEE, PubMed หรือ Web of Science โดยมีนักศึกษาเป็นชื่อแรก อย่างน้อย 1 เรื่อง หรือ มีการจดสิทธิบัตรตามประกาศของบัณฑิตวิทยาลัย

4. เสนอผลงานดุษฎีนิพนธ์หรือส่วนหนึ่งของผลงานดุษฎีนิพนธ์ในการประชุมวิชาการระดับนานาชาติที่เป็นที่ยอมรับในสาขาวิชา อย่างน้อย 1 เรื่อง

5. รายงานความก้าวหน้าการทำดุษฎีนิพนธ์ต่อที่ประชุมภาควิชา ทุกภาคการศึกษา

6. นักศึกษาต้องรายงานผลการศึกษาตามแบบรายงานผลของบัณฑิตวิทยาลัยทุกภาคการศึกษา โดยผ่านความเห็นชอบของประธานกรรมการบัณฑิตศึกษาประจำคณะและรวบรวมส่งบัณฑิตวิทยาลัยทุกภาคการศึกษา   

หมายเหตุ : กระบวนวิชาในสาขาวิชาเฉพาะ หมายถึง สาขาวิชาปรสิตวิทยา (พ.ปร. 317.......)
แบบ 2.2 สำหรับนักศึกษาที่สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรี
จํานวนหน่วยกิตรวมตลอดหลักสูตร 72 หน่วยกิต

317898 ดุษฎีนิพนธ์     48    หน่วยกิต

1. ตามเงื่อนไขของบัณฑิตวิทยาลัย    ภาษาอังกฤษ

2. ตามเงื่อนไขของสาขาวิชา

1. นักศึกษาจะต้องสอบวัดคุณสมบัติเพื่อประเมินความพร้อมและความสามารถเพื่อมีสิทธิ์เสนอโครงร่างปริญญานิพนธ์

2. นักศึกษาที่สอบไม่ผ่าน มีสิทธิสอบแก้ตัวได้อีก 1 ครั้ง โดยต้องยื่นคำร้องขอสอบใหม่   การสอบแก้ตัวต้องสอบให้เสร็จสิ้นภายใน 1 ภาคการศึกษาถัดไปนับจากการสอบครั้งแรก

3. นักศึกษาที่สอบไม่ผ่านการสอบวัดคุณสมบัติ คณะกรรมการบริหารหลักสูตรบัณฑิตศึกษาประจำสาขาวิชาอาจพิจารณาให้โอนเป็นนักศึกษาระดับปริญญาโทได้

1. นักศึกษาจะต้องจัดสัมมนาเป็นภาษาอังกฤษและนำเสนอผลงานที่เกี่ยวข้องกับดุษฎีนิพนธ์ในการสัมมนา อย่างน้อยภาคการศึกษาละ 1 ครั้ง เป็นจำนวนไม่น้อยกว่า 7 ภาคการศึกษา และนักศึกษาจะต้องเข้าร่วมสัมมนาทุกครั้งตลอดระยะเวลาการศึกษา

2. เข้าร่วมการอบรมจริยธรรมการวิจัยในมนุษย์ จรรยาบรรณการใช้สัตว์ทดลองที่คณะหรือมหาวิทยาลัยจัด ตามคำแนะนำของอาจารย์ที่ปรึกษา

3. ผลงานดุษฎีนิพนธ์หรือส่วนหนึ่งของดุษฎีนิพนธ์ได้รับเผยแพร่ หรืออย่างน้อยได้รับการตอบรับให้เผยแพร่ในวารสารระดับนานาชาติ ที่มีชื่อนักศึกษาเป็นชื่อแรก อย่างน้อย 2 เรื่อง โดย 1 เรื่อง ต้องอยู่ในฐานข้อมูล ISI, Scopus, IEEE, PubMed หรือ Web of Science หรือ มีการจดสิทธิบัตรตามประกาศของบัณฑิตวิทยาลัย

4. เสนอผลงานดุษฎีนิพนธ์หรือส่วนหนึ่งของผลงานดุษฎีนิพนธ์ในการประชุมวิชาการระดับนานาชาติที่เป็นที่ยอมรับในสาขาวิชา อย่างน้อย 1 เรื่อง

5. รายงานความก้าวหน้าการทำดุษฎีนิพนธ์ต่อที่ประชุมภาควิชา ทุกภาคการศึกษา

6. นักศึกษาต้องรายงานผลการศึกษาตามแบบรายงานผลของบัณฑิตวิทยาลัยทุกภาคการศึกษา โดยผ่านความเห็นชอบของประธานกรรมการบัณฑิตศึกษาประจำคณะและรวบรวมส่งบัณฑิตวิทยาลัยทุกภาคการศึกษา

หมายเหตุ : กระบวนวิชาในสาขาวิชาเฉพาะ หมายถึง สาขาวิชาปรสิตวิทยา (พ.ปร. 317.......)
Contact