3

หลักสูตร

  • หลักสูตรแบบ 1.1   จำนวนหน่วยกิต  รวมตลอดหลักสูตร              48      หน่วยกิต
  • หลักสูตรแบบ 1.2   จำนวนหน่วยกิต  รวมตลอดหลักสูตร              72      หน่วยกิต
  • หลักสูตรแบบ 2.1   จำนวนหน่วยกิต  รวมตลอดหลักสูตร     ไม่น้อยกว่า       48      หน่วยกิต
  • หลักสูตรแบบ 2.2   จำนวนหน่วยกิต  รวมตลอดหลักสูตร     ไม่น้อยกว่า       72      หน่วยกิต

แบบ 1.1 สำหรับนักศึกษาที่สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาโท

จํานวนหน่วยกิตรวมตลอดหลักสูตร 48 หน่วยกิต

317898 ดุษฎีนิพนธ์ 48 หน่วยกิต

1. นักศึกษาจะต้องจัดสัมมนาเป็นภาษาอังกฤษและนําเสนอผลงานที่เกี่ยวข้องกับดุษฎีนิพนธ์ใน การสัมมนา อย่างน้อยภาคการศึกษาละ 1 ครั้ง เป็นจํานวนไม่น้อยกว่า 6 ภาคการศึกษา และ นักศึกษาจะต้องเข้าร่วมสัมมนาทุกครั้งตลอดระยะเวลาการศึกษา

2. เข้าร่วมการอบรมจริยธรรมการวิจัยในมนุษย์ จรรยาบรรณการใช้สัตว์ทดลองที่คณะหรือ มหาวิทยาลัยจัด ตามคําแนะนําของอาจารย์ที่ปรึกษา

3. ผลงานดุษฎีนิพนธ์หรือส่วนหนึ่งของดุษฎีนิพนธ์ได้รับเผยแพร่ หรืออย่างน้อยได้รับการตอบรับ ให้เผยแพร่ในวารสารระดับนานาชาติ ที่มีชื่อนักศึกษาเป็นชื่อแรก อย่างน้อย 2 เรื่อง โดย 1 เรื่อง ต้องอยู่ในฐานข้อมูล ISI, Scopus, IEEE, PubMed หรือ Web of Science หรือ มีการ จดสิทธิบัตรตามประกาศของบัณฑิตวิทยาลัย

4. เสนอผลงานดุษฎีนิพนธ์หรือส่วนหนึ่งของผลงานดุษฎีนิพนธ์ในการประชุมวิชาการระดับ นานาชาติที่เป็นที่ยอมรับในสาขาวิชา อย่างน้อย 1 เรื่อง

5. รายงานความก้าวหน้าการทําดุษฎีนิพนธ์ต่อที่ประชุมภาควิชา ทุกภาคการศึกษา

6. นักศึกษาต้องรายงานผลการศึกษาตามแบบรายงานผลของบัณฑิตวิทยาลัยทุกภาคการศึกษา โดยผ่านความเห็นชอบของประธานกรรมการบัณฑิตศึกษาประจําคณะและรวบรวมส่งบัณฑิต วิทยาลัยทุกภาคการศึกษา

1. ตามเงื่อนไขของบัณฑิตวิทยาลัย    ภาษาอังกฤษ

2. นักศึกษาอาจเลือกเรียนบางวิชาเพิ่มเติมตามที่อาจารย์ที่ปรึกษาแนะนํา โดยลงทะเบียน แบบ visitor (V)

1. นักศึกษาจะต้องสอบวัดคุณสมบัติเพื่อประเมินความพร้อมและความสามารถเพื่อมีสิทธิ์เสนอ โครงร่างปริญญานิพนธ์

2. นักศึกษาที่สอบไม่ผ่าน มีสิทธิสอบแก้ตัวได้อีก 1 ครั้ง โดยต้องยื่นคําร้องขอสอบใหม่ การสอบ แก้ตัวต้องสอบให้เสร็จสิ้นภายใน 1 ภาคการศึกษาถัดไปนับจากการสอบครั้งแรก

แบบ 1.2 สําหรับนักศึกษาที่สําเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรี

จํานวนหน่วยกิตรวมตลอดหลักสูตร 72 หน่วยกิต

317897 ดุษฎีนิพนธ์ 72 หน่วยกิต

1. นักศึกษาจะต้องจัดสัมมนาเป็นภาษาอังกฤษและนําเสนอผลงานที่เกี่ยวข้องกับดุษฎีนิพนธ์ใน การสัมมนา อย่างน้อยภาคการศึกษาละ 1 ครั้ง เป็นจํานวนไม่น้อยกว่า 10 ภาคการศึกษา และ นักศึกษาจะต้องเข้าร่วมสัมมนาทุกครั้งตลอดระยะเวลาการศึกษา

2. เข้าร่วมการอบรมจริยธรรมการวิจัยในมนุษย์ จรรยาบรรณการใช้สัตว์ทดลองที่คณะหรือ มหาวิทยาลัยจัด ตามคําแนะนําของอาจารย์ที่ปรึกษา

3. ผลงานดุษฎีนิพนธ์หรือส่วนหนึ่งของดุษฎีนิพนธ์ได้รับเผยแพร่ หรืออย่างน้อยได้รับการตอบรับ ให้เผยแพร่ในวารสารระดับนานาชาติ ที่อยู่ในฐานข้อมูล ISI, Scopus, IEEE, PubMed หรือ Web of Science โดยมีนักศึกษาเป็นชื่อแรก อย่างน้อย 2 เรื่อง หรือ มีการจดสิทธิบัตรตาม ประกาศของบัณฑิตวิทยาลัย

4. เสนอผลงานดุษฎีนิพนธ์หรือส่วนหนึ่งของผลงานดุษฎีนิพนธ์ในการประชุมวิชาการระดับ นานาชาติที่เป็นที่ยอมรับในสาขาวิชา อย่างน้อย 1 เรื่อง

5. รายงานความก้าวหน้าการทําดุษฎีนิพนธ์ต่อที่ประชุมภาควิชา ทุกภาคการศึกษา

6. นักศึกษาต้องรายงานผลการศึกษาตามแบบรายงานผลของบัณฑิตวิทยาลัยทุกภาคการศึกษา โดยผ่านความเห็นชอบของประธานกรรมการบัณฑิตศึกษาประจําคณะและรวบรวมส่งบัณฑิต วิทยาลัยทุกภาคการศึกษา

1. ตามเงื่อนไขของบัณฑิตวิทยาลัย    ภาษาอังกฤษ

2. นักศึกษาอาจเลือกเรียนบางวิชาเพิ่มเติมตามที่อาจารย์ที่ปรึกษาแนะนํา โดยลงทะเบียน แบบ visitor (V)

1. นักศึกษาจะต้องสอบวัดคุณสมบัติเพื่อประเมินความพร้อมและความสามารถเพื่อมีสิทธิ์เสนอ โครงร่างปริญญานิพนธ์

2. นักศึกษาที่สอบไม่ผ่าน มีสิทธิสอบแก้ตัวได้อีก 1 ครั้ง โดยต้องยื่นคําร้องขอสอบใหม่ การสอบ แก้ตัวต้องสอบให้เสร็จสิ้นภายใน 1 ภาคการศึกษาถัดไปนับจากการสอบครั้งแรก

3. นักศึกษาที่สอบไม่ผ่านการสอบวัดคุณสมบัติ คณะกรรมการบริหารหลักสูตรบัณฑิตศึกษา ประจําสาขาวิชาอาจพิจารณาให้โอนเป็นนักศึกษาระดับปริญญาโทได้

แบบ 2.1 สําหรับนักศึกษาที่สําเร็จการศึกษาระดับปริญญาโท

จํานวนหน่วยกิตรวมตลอดหลักสูตร 48 หน่วยกิต

317899 ดุษฎีนิพนธ์     36    หน่วยกิต

1. ตามเงื่อนไขของบัณฑิตวิทยาลัย    ภาษาอังกฤษ

2. ตามเงื่อนไขของสาขาวิชา

1. นักศึกษาจะต้องสอบวัดคุณสมบัติเพื่อประเมินความพร้อมและความสามารถเพื่อมีสิทธิ์เสนอโครงร่างปริญญานิพนธ์

2. นักศึกษาที่สอบไม่ผ่าน มีสิทธิสอบแก้ตัวได้อีก 1 ครั้ง โดยต้องยื่นคำร้องขอสอบใหม่   การสอบแก้ตัวต้องสอบให้เสร็จสิ้นภายใน 1 ภาคการศึกษาถัดไปนับจากการสอบครั้งแรก

1. นักศึกษาจะต้องจัดสัมมนาเป็นภาษาอังกฤษและนำเสนอผลงานที่เกี่ยวข้องกับดุษฎีนิพนธ์ในการสัมมนา อย่างน้อยภาคการศึกษาละ 1 ครั้ง เป็นจำนวนไม่น้อยกว่า 3 ภาคการศึกษา และนักศึกษาจะต้องเข้าร่วมสัมมนาทุกครั้งตลอดระยะเวลาการศึกษา

2. เข้าร่วมการอบรมจริยธรรมการวิจัยในมนุษย์ จรรยาบรรณการใช้สัตว์ทดลองที่คณะหรือมหาวิทยาลัยจัด ตามคำแนะนำของอาจารย์ที่ปรึกษา

3. ผลงานดุษฎีนิพนธ์หรือส่วนหนึ่งของดุษฎีนิพนธ์ได้รับเผยแพร่ หรืออย่างน้อยได้รับการตอบรับให้เผยแพร่ในวารสารระดับนานาชาติ ที่อยู่ในฐานข้อมูล ISI, Scopus, IEEE, PubMed หรือ Web of Science โดยมีนักศึกษาเป็นชื่อแรก อย่างน้อย 1 เรื่อง หรือ มีการจดสิทธิบัตรตามประกาศของบัณฑิตวิทยาลัย

4. เสนอผลงานดุษฎีนิพนธ์หรือส่วนหนึ่งของผลงานดุษฎีนิพนธ์ในการประชุมวิชาการระดับนานาชาติที่เป็นที่ยอมรับในสาขาวิชา อย่างน้อย 1 เรื่อง

5. รายงานความก้าวหน้าการทำดุษฎีนิพนธ์ต่อที่ประชุมภาควิชา ทุกภาคการศึกษา

6. นักศึกษาต้องรายงานผลการศึกษาตามแบบรายงานผลของบัณฑิตวิทยาลัยทุกภาคการศึกษา โดยผ่านความเห็นชอบของประธานกรรมการบัณฑิตศึกษาประจำคณะและรวบรวมส่งบัณฑิตวิทยาลัยทุกภาคการศึกษา 

หมายเหตุ : กระบวนวิชาในสาขาวิชาเฉพาะ หมายถึง สาขาวิชาปรสิตวิทยา (พ.ปร. 317…….)

แบบ 2.2 สำหรับนักศึกษาที่สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรี

จํานวนหน่วยกิตรวมตลอดหลักสูตร 72 หน่วยกิต

317898 ดุษฎีนิพนธ์     48    หน่วยกิต

1. ตามเงื่อนไขของบัณฑิตวิทยาลัย    ภาษาอังกฤษ

2. ตามเงื่อนไขของสาขาวิชา

1. นักศึกษาจะต้องสอบวัดคุณสมบัติเพื่อประเมินความพร้อมและความสามารถเพื่อมีสิทธิ์เสนอโครงร่างปริญญานิพนธ์

2. นักศึกษาที่สอบไม่ผ่าน มีสิทธิสอบแก้ตัวได้อีก 1 ครั้ง โดยต้องยื่นคำร้องขอสอบใหม่   การสอบแก้ตัวต้องสอบให้เสร็จสิ้นภายใน 1 ภาคการศึกษาถัดไปนับจากการสอบครั้งแรก

3. นักศึกษาที่สอบไม่ผ่านการสอบวัดคุณสมบัติ คณะกรรมการบริหารหลักสูตรบัณฑิตศึกษาประจำสาขาวิชาอาจพิจารณาให้โอนเป็นนักศึกษาระดับปริญญาโทได้

1. นักศึกษาจะต้องจัดสัมมนาเป็นภาษาอังกฤษและนำเสนอผลงานที่เกี่ยวข้องกับดุษฎีนิพนธ์ในการสัมมนา อย่างน้อยภาคการศึกษาละ 1 ครั้ง เป็นจำนวนไม่น้อยกว่า 7 ภาคการศึกษา และนักศึกษาจะต้องเข้าร่วมสัมมนาทุกครั้งตลอดระยะเวลาการศึกษา

2. เข้าร่วมการอบรมจริยธรรมการวิจัยในมนุษย์ จรรยาบรรณการใช้สัตว์ทดลองที่คณะหรือมหาวิทยาลัยจัด ตามคำแนะนำของอาจารย์ที่ปรึกษา

3. ผลงานดุษฎีนิพนธ์หรือส่วนหนึ่งของดุษฎีนิพนธ์ได้รับเผยแพร่ หรืออย่างน้อยได้รับการตอบรับให้เผยแพร่ในวารสารระดับนานาชาติ ที่มีชื่อนักศึกษาเป็นชื่อแรก อย่างน้อย 2 เรื่อง โดย 1 เรื่อง ต้องอยู่ในฐานข้อมูล ISI, Scopus, IEEE, PubMed หรือ Web of Science หรือ มีการจดสิทธิบัตรตามประกาศของบัณฑิตวิทยาลัย

4. เสนอผลงานดุษฎีนิพนธ์หรือส่วนหนึ่งของผลงานดุษฎีนิพนธ์ในการประชุมวิชาการระดับนานาชาติที่เป็นที่ยอมรับในสาขาวิชา อย่างน้อย 1 เรื่อง

5. รายงานความก้าวหน้าการทำดุษฎีนิพนธ์ต่อที่ประชุมภาควิชา ทุกภาคการศึกษา

6. นักศึกษาต้องรายงานผลการศึกษาตามแบบรายงานผลของบัณฑิตวิทยาลัยทุกภาคการศึกษา โดยผ่านความเห็นชอบของประธานกรรมการบัณฑิตศึกษาประจำคณะและรวบรวมส่งบัณฑิตวิทยาลัยทุกภาคการศึกษา

หมายเหตุ : กระบวนวิชาในสาขาวิชาเฉพาะ หมายถึง สาขาวิชาปรสิตวิทยา (พ.ปร. 317…….)

Contact